กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา


“ โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ”

อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา

ที่อยู่ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบูเก๊ะตา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโรคทางจิตเวชเป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุข นับวันเพิ่มมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ โรคทางจิตเวชก่อให้เกิดความผิดปกติทางด้านความคิด อารมณ์ การรับรู้ และพฤติกรรม จำเป็นต้องได้รับการรักษาตลอดชีวิต การเจ็บป่วยซ้ำถี่มากขึ้น ยิ่งทำให้เกิดความเสื่อมถอยของบุคลิกภาพขาดทักษะพื้นฐานในการแก้ปัญหา มีพฤติกรรมก้าวร้าว หลงผิด ประสาทหลอน และพฤติกรรมฆ่าตัวตาย เป็นต้น การมีสมาชิกในครอบครัวที่ป่วยด้วยโรคทางจิตเวช มีผลกระทบต่อสมาชิกในครอบครัวเป็นอย่างมาdทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และเศรษฐกิจ
จากข้อมูลผู้ป่วยโรคจิตเวชในประเทศไทยจากรายงาน HDC พบว่า จังหวัดนราธิวาส มีปัญหาในเรื่องผู้ป่วยจิตเวช ตั้งแต่ปี๒๕๕๗-๒๕๕๙ มีผู้ป่วยทั้งหมด ๒,๙๔๕ ราย๓,๔๕๘ ราย ๓,๖๔๑ ตามลำดับ ภาพรวมของโรงพยาบาลแว้ง พบว่าผู้ป่วยด้วยโรคจิตเวชที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลตั้งแต่ปี๒๕๕๗-๒๕๖๐ ดังนี้จำนวน ๔๓๙ ราย , ๔๘๓ ราย ๕๒๘ ราย และ ๕๖๙ ราย ตามลำดับจะเห็นได้ว่าข้อมูลสถิติผู้ป่วยโรคจิตเวชของอำเภอแว้งมีจำนวนเพิ่มขึ้น สาเหตุจากปัญหายาเสพติด ประชาชนได้รับการศึกษาค่อนข้างต่ำ เศรษฐกิจ ซึ่งผู้ป่วยจิตเวชมีแนวโน้มเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโล๊ะจูดมีผู้ป่วยจิตเวชในเขตเทศบาลอยู่ทั้งหมด 30 ราย รักษาอย่างต่อเนื่อง 15 ราย รักษาไม่ต่อเนื่อง 10 รายและไม่ยอมเข้ารับการรักษา 5 ราย คิดเป็นร้อยละ ๕๐, ร้อยละ16.67 ตามลำดับ ซึ่งทำให้เกิดปัญหาผู้ป่วยอาการกำเริบฉุกเฉินมากขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโล๊ะจูดเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจดูแลผู้ป่วยจิตเวชขึ้น โดยร่วมกับกองทุนเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา เพื่อให้ผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเวช อสม.และผู้นำชุมชน มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวช สามารถให้การดูแลผู้ป่วยอย่างถูกต้อง ผู้ป่วยรับยาอย่างต่อเนื่อง ลดอาการกำเริบของผู้ป่วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ญาติ อสม.ผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนา มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
  2. 2.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวชแก่ญาติ อสม.ผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนา
  2. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวชโดยภาคีเครือข่ายในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
อาสาสมัครสาธารณสุข 40

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ญาติผู้ดูแลและภาคีเครือข่ายมีความรู้เพิ่มขึ้น อัตราผู้ป่วยจิตเวชรับยาตามนัด เพิ่มขึ้น อัตราผู้ป่วยจิตเวชมีอาการกำเริบฉุกเฉิน น้อยกว่า ร้อยละ 50


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ญาติ อสม.ผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนา มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวช
ตัวชี้วัด : ญาติ อสม.ผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนา ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวช เพิ่มขึ้น
80.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยจิตเวชรับยาตามนัด
70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 30
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
อาสาสมัครสาธารณสุข 40

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ญาติ อสม.ผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนา มีความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวช (2) 2.เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชเข้ารับการรักษาอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยจิตเวชแก่ญาติ อสม.ผู้นำชุมชนและผู้นำศาสนา (2) ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยจิตเวชโดยภาคีเครือข่ายในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการชุมชนร่วมใจใส่ใจดูแลผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนเขตเทศบาลตำบลบูเก๊ะตา จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด