กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการโภชนาการดีเริ่มที่ครอบครัว ปี 2563 ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซัยนี สะมะแอ

ชื่อโครงการ โครงการโภชนาการดีเริ่มที่ครอบครัว ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4117-1-11 เลขที่ข้อตกลง 10

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโภชนาการดีเริ่มที่ครอบครัว ปี 2563 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโภชนาการดีเริ่มที่ครอบครัว ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการโภชนาการดีเริ่มที่ครอบครัว ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 63-L4117-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการ - พัฒนาการในเด็กช่วงอายุ 0-5 ปี เป็นช่วงที่มีอัตราของการพัฒนาสูงด้วยเหตุนี้พ่อแม่ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก รวมถึง อาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ ต้องมีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญให้มากจึงจะช่วยส่งเสริมให้เด็กได้รับการพัฒนาได้เต็มตามศักยภาพจาการติดตามประเมินโภชนาการและพัฒนาการ ในพื้นที่ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา ได้แก่ ม.2 ม.7 ม.8 และ ม.11 ซึ่งเป็นพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส นั้น พบว่า เด็กในช่วงอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะทุพโภชนาการ และพัฒนาการสมวัยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ ซึ่งตัวชี้วัดของกระทรวงสาธารณสุข ต้องมีภาวะเตี้ยไม่เกินร้อยละ 10 และภาวะผอมไม่เกินร้อยละ 5 จากการสำรวจภาวะโภชนาการ 3 ปีย้อนหลัง ดังนี้

ปี พ.ศ จำนวนเด็ก ทั้งหมด(คน) ได้รัการคัดกรองภาวะโภชนาการ
คิดเป็นร้อยละ มีภาวะเตี้ย (ร้อยละ) มีภาวะผอม (ร้อยละ) 2560 681 664 97.52 14.25 6.95 2561 736 510 69.26 15.14 5.83 2562 641 630 98.28 15.45 7.38

จากตารางพบว่า เด็กในเขตรับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส มีแนวโน้มของภาวะทุพโภชนาการที่สูงขึ้น ซึ่งภาวะโภชนาการไม่ดี มีผลต่อการพัฒนาด้าน สติปัญญาและพัฒนาการของเด็ก จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่าประชาชนยังไม่เห็นความสำคัญของการดูแลโภชนาการและไม่มีความรู้ในการปรับอาหารให้เหมาะกับภาวะสุขภาพของบุตรหลาน ประกอบกับภาวะเศรษฐกิจที่ไม่ดี ทำให้ผู้ปกครองสนใจแต่เรื่องประกอบอาชีพ หารายได้มากกว่า ยิ่งทำให้เด็กเล็กได้รับการดูแลด้านโภชนาการได้น้อยลงไปอีก ถึงแม้อาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่จะคัดกรองและประเมินภาวะโภชนาการทุกๆ 3 เดือนในเด็กที่มีภาวะโภชนาการปกติ และติดตามทุก 1 เดือนในเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ ตามที่ได้วางแผนไว้กับทีมสุขภาพก็พบว่าอุปกรณ์ยังไม่เพียงพอต่อการดำเนินงาน ทำให้ไม่สามารถคัดกรองได้ครอบคลุมในช่วงเวลาจำกัดจากการสอบถามผู้ปกครองพบว่าอาหารมื้อเช้า มีเพียงร้อยละ 20 ที่ผู้ปกครองทำกับข้าวเอง อีกร้อยละ 80ซื้อกินที่ร้านอาหาร ซึงมักเป็น ขนมขบเคี้ยว ไส้กรอก ฯลฯ ซึ่งเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการน้อยและมีผงชูรสมาก ส่งผลให้เด็กมีภาวะทุพโภชนาการได้ง่าย จะเห็นว่าผู้ปกครองพาเด็กมาตรวจตามนัดเพียง ร้อยละ 27 ซึ่งค่อนข้องน้อยมาก ทำให้การดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการ ในเด็กมีผลลัพธ์ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานจากปัญหาดังกล่าวผู้รับผิดชอบงานเด็กปฐมวัยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส จึงเห็นว่าการพัฒนาความรู้ให้แก่ทีมสุขภาพในพื้นที่และจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนักให้เพียงพอ ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการติดตามภาวะโภชนาการเด็กในชุมชนให้ครอบคลุมทุกพื้นที่และส่งเสริมกิจกรรมปลูกผักเสริมธาตุเหล็กในครัวเรือนเป็นจุดเริ่มต้นที่จะกระตุ้นให้ผู้ปกครองหันมาสนใจบุตรหลานด้านโภชนาการมากขึ้นจะเป็นการปูพื้นฐานและสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองสามารนำไปส่งเสริมให้บุตรมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่สมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่มีความรู้ในการประเมินภาวะโภชนาการและสามารถปรับเมนูอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ และเหมาะสมตามวัย
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี สามารถใช้คู่มือสมุดบันทึกสุขภาพแม่ในการบันทึกภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองปลูกผักเสริมธาตุเหล็กในครัวเรือนโดยใช้วัสดุที่มีในชุมชนให้เกิดประโยชน์
  4. เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
  5. เพิ่มการใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ปกครองเด็ก มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถประเมินภาวะโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ตามคู่มือสมุดบันทึกสุขภาพเล่มสีชมพูได้
2.ผู้ปกครองเด็กสามารถนำควารู้การปลูกผักเสริมธาตุเหล็กจากวัสดุเหลือใช้ในครัวเรือน ไปปฏิบัติไม่น้อยกว่าร้อยละ 90
3.ผู้ปกครองเด็กสามารถคัดกรองพัฒนาการเบื้องต้นด้วยตนเองได้ ตามคู่มือตรวจพัฒนาการ DSPM/DAIM


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชาสัมพันธ์โครงการ
2.แลกเปลี่ยนเรียนรุ้ด้านโภชนาการและพัฒนาการ ตามคู่มือสมุดบันทึกสุขภาพเล่มสีชมพูและคู่มือตรวจพัฒนาการ(DSPM/DAIM) พร้อมทำแบบประเมินความรู้ก่อนและหลังอบรม
3.รณรงค์ให้ความรู้ด้านการปลูกผักเสริมธาตุเหล็กจากวัสดุเหลือใช้ในครัวเรือน
4.คัดเลือกผู้ปกครอง จิตอาสา เพื่อเป็นต้นแบบด้านการดูแลด้านโภชนาการในหมู่ละ 1 คู่
5.ติดตามประเมินภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบทุกๆ 3 เดือน และติดตามเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการทุก 1 เดือน
6.ติดตามดำเนินการปลูกผักเสริมธาตุเหล็กจากวัสดุเหลือใช้ในชุมชนหลังจัดประชุม
7.ประเมินผลกิจกรรมตามโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการโภชนาการดี เริ่มที่ครอบครัว ได้ดำเนินงานส่งเสริมโภชนาการ ในเด็กมีผลลัพธ์ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานจากปัญหาดังกล่าวผู้รับผิดชอบงานเด็กปฐมวัยของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านคลองน้ำใส จึงเห็นว่าการพัฒนาความรู้ให้แก่ทีมสุขภาพในพื้นที่และจัดหาเครื่องชั่งน้ำหนักให้เพียงพอ ให้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการติดตามภาวะโภชนาการเด็กในชุมชนให้ครอบคลุมทุกพื้นที่และส่งเสริมกิจกรรมปลูกผักเสริมธาตุเหล็กในครัวเรือนเป็นจุดเริ่มต้นที่จะกระตุ้นให้ผู้ปกครองหันมาสนใจบุตรหลานด้านโภชนาการมากขึ้นจะเป็นการปูพื้นฐานและสร้างแรงจูงใจให้ผู้ปกครองสามารนำไปส่งเสริมให้บุตรมีภาวะโภชนาการและพัฒนาการที่สมวัย ได้บรรลุตามเป้าหมาย

 

70 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่มีความรู้ในการประเมินภาวะโภชนาการและสามารถปรับเมนูอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ และเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่มีความรู้ในการประเมินภาวะโภชนาการและสามารถปรับเมนูอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ และเหมาะสมตามวัย(ร้อยละ)
70.00

 

2 เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี สามารถใช้คู่มือสมุดบันทึกสุขภาพแม่ในการบันทึกภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี สามารถใช้คู่มือสมุดบันทึกสุขภาพแม่ในการบันทึกภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้อง (ร้อยละ)
60.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองปลูกผักเสริมธาตุเหล็กในครัวเรือนโดยใช้วัสดุที่มีในชุมชนให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองปลูกผักเสริมธาตุเหล็กในครัวเรือนโดยใช้วัสดุที่มีในชุมชนให้เกิดประโยชน์ (ร้อยละ)
60.00

 

4 เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ บริโภคอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
30.00 50.00

 

5 เพิ่มการใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ตัวชี้วัด : จำนวนโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch
2.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 70
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี ที่มีความรู้ในการประเมินภาวะโภชนาการและสามารถปรับเมนูอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ และเหมาะสมตามวัย (2) เพื่อให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี สามารถใช้คู่มือสมุดบันทึกสุขภาพแม่ในการบันทึกภาวะโภชนาการได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อให้ผู้ปกครองปลูกผักเสริมธาตุเหล็กในครัวเรือนโดยใช้วัสดุที่มีในชุมชนให้เกิดประโยชน์ (4) เพิ่มจำนวนครัวเรือนที่มีอาหารครบ 5 หมู่ (ผัก ผลไม้ ไขมัน ข้าว แป้ง เนื้อสัตว์) บริโภคอย่างเพียงพอ  (5) เพิ่มการใช้โปรแกรม Menu Thai School Lunch ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการโภชนาการดีเริ่มที่ครอบครัว ปี 2563 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 63-L4117-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซัยนี สะมะแอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด