กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสานชุมชน รวมพลเครือข่าย เพื่อเด็กอ่าวตงฟันดี ”
ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางวลัย ลิ่มโอภาสมณี




ชื่อโครงการ โครงการสานชุมชน รวมพลเครือข่าย เพื่อเด็กอ่าวตงฟันดี

ที่อยู่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1520-01-10 เลขที่ข้อตกลง 8/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 ธันวาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสานชุมชน รวมพลเครือข่าย เพื่อเด็กอ่าวตงฟันดี จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสานชุมชน รวมพลเครือข่าย เพื่อเด็กอ่าวตงฟันดี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสานชุมชน รวมพลเครือข่าย เพื่อเด็กอ่าวตงฟันดี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลอ่าวตง อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1520-01-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 ธันวาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 34,553.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.อ่าวตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุเป็นโรคติดเชื้อ เนื่องจากสามารถแพร่กระจายเชื้อได้ โดยสามารถถ่ายทอดเชื้อจากแม่ หรือผู้เลี้ยงดูเด็กสู่ลูกได้ การเกิดฟันผุในฟันน้ำนมมีปัจจัยทีเกี่ยวข้องสอดคล้องกับฟันแท้ แต่มีรายละเอียดที่แตกต่างกัน เพราะเป็นฟันผุที่เกิดกับเด็กในช่วงอายุน้อย ซึ่งอยู่ในระหว่างการพัฒนาหลายด้าน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดฟันผุในฟันน้ำนมได้แก่ อาหาร จุลินทรีย์ รวมถึงระบบภูมิคุ้มกันของเด็ก ซึ่งมารดามีบทบาทสำคัญต่อภูมิคุ้มกันของลูก ผลกระทบของการมีฟันผุในฟันน้ำนม นอกจากจะเกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อและปัญหาการบดเคี้ยวแล้ว ยังมีผลต่อน้ำหนัก และการเจริญเติบโตของเด็ก บุคลิกภาพที่ขาดความมั่นใจในตนเอง และอาจมีผลต่อการเกิดฟันผุและพัฒนาการของฟันแท้ด้วย นอกจากนี้พบว่า เด็กที่มีฟันน้ำนมผุ โอกาสที่ฟันแท้จะผุมีมากกว่าเด็กที่ไม่มีฟันน้ำนมผุ สาเหตุการเกิดโรคฟันผุส่วนใหญ่ในเด็กก่อนวัยเรียน เกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง การทาความสะอาดช่องปาก ฐานะทางเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา อาชีพ ความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพ ทัศนคติกับการตระหนักถึงสุขภาพช่องปาก รวมถึงสุขภาพช่องปากของพ่อแม่
แนวทางที่เหมาะสมสาหรับเด็กกลุ่มนี้ ควรเน้นไปที่การป้องกันการเกิดฟันผุตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้น ซึ่งสามารถป้องกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากได้รับการดูแลอย่างถูกวิธี ช่วยให้สามารถเก็บรักษาฟันให้มีสุขภาพดีและใช้งานได้ เด็กก่อนวัยเรียนยังไม่สามารถดูแลตนเองได้ ยังต้องการความช่วยเหลือสนับสนุนเป็นอย่างมากจากพ่อแม่ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดู ซึ่งบุคคลเหล่านี้เป็นผู้ที่มีบทบาทในการดูแลเอาใจใส่และสร้างพฤติกรรมที่ถูกต้องให้แก่เด็ก จึงเหมาะแก่การปลูกฝังและส่งเสริมด้านการดูแลทันตสุขภาพอย่างจริงจัง เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ผู้ปกครอง ผู้ดูแลเด็ก รวมทั้งคนในชุมชนให้ความสำคัญของทันตสุขภาพของตนเองมากขึ้น และเป็นการส่งเสริม ป้องกัน ไม่ให้โรคในช่องปากลุกลามและทวีความรุนแรงมากกว่าเดิม อีกทั้งเป็นการสนับสนุนให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลอ่าวตง ได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อสร้างแกนนำด้านทันตสุขภาพขึ้นในชุมชน เพื่อเป็นหน่วยคัดกรองเด็กที่มีฟันผุ ส่งต่อเด็กที่ต้องได้รับการรักษา และเพื่อเป็นการกระตุ้นผู้ปกครอง และผู้ดูแลเด็กให้หันมาดูแลสุขภาพช่องปากเพื่อสร้างสุขนิสัยที่ดีในการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากให้สามารถใช้งานได้ตามปกติ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพด้านทันตสุขภาพ จำนวน 94 คน
  2. เด็ก 6 เดือน-3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย
  3. เด็ก 6 เดือน-3 ปี ที่มีฟันน้ำนมขึ้นได้รับการเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
  4. ผู้ปกครองเด็ก 6 เดือน-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก
  5. แกนนำด้านทันตสุขภาพได้เยี่ยมบ้านเด็ก 6 เดือน-3 ปี ปีละ 2 ครั้ง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ร้อยละ 80  ของแกนนำด้านทันตสุขภาพได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านทันตสุขภาพ 2.ร้อยละ 100 ของเด็ก 6 เดือน - 3 ปีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย
    3.ร้อยละ 100 ของเด็ก 6 เดือน - 3 ปีที่มีฟันน้ำนมขึ้นได้รับการการเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุทุกราย
    4.ร้อยละ 80  ของผู้ปกครองเด็ก 6 เดือน - 3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก 5.ร้อยละ 100 ของแกนนำด้านทันตสุขภาพได้เยี่ยมบ้านเด็ก6 เดือน -3 ปี ปีละ 2 ครั้ง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพด้านทันตสุขภาพ จำนวน 94 คน
    ตัวชี้วัด : แกนนำด้านทันตสุขภาพได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านทันตสุขภาพ (Pretest/Posttest)มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80
    0.00

     

    2 เด็ก 6 เดือน-3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย
    ตัวชี้วัด : เด็ก 6 เดือน-3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย ร้อยละ 100
    0.00

     

    3 เด็ก 6 เดือน-3 ปี ที่มีฟันน้ำนมขึ้นได้รับการเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ
    ตัวชี้วัด : เด็ก 6 เดือน-3 ปี ที่มีฟันน้ำนมขึ้นได้รับการการเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ ร้อยละ 90
    0.00

     

    4 ผู้ปกครองเด็ก 6 เดือน-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก
    ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองเด็ก 6 เดือน-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 80
    0.00

     

    5 แกนนำด้านทันตสุขภาพได้เยี่ยมบ้านเด็ก 6 เดือน-3 ปี ปีละ 2 ครั้ง
    ตัวชี้วัด : แกนนำด้านทันตสุขภาพได้เยี่ยมบ้านเด็ก6 เดือน-3 ปี ปีละ 2 ครั้ง ร้อยละ 100
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพด้านทันตสุขภาพ จำนวน 94 คน (2) เด็ก 6 เดือน-3 ปี ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากทุกราย (3) เด็ก 6 เดือน-3 ปี ที่มีฟันน้ำนมขึ้นได้รับการเคลือบฟลูออไรด์ป้องกันฟันผุ (4) ผู้ปกครองเด็ก 6 เดือน-3 ปี ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก (5) แกนนำด้านทันตสุขภาพได้เยี่ยมบ้านเด็ก 6 เดือน-3 ปี ปีละ 2 ครั้ง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสานชุมชน รวมพลเครือข่าย เพื่อเด็กอ่าวตงฟันดี จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 63-L1520-01-10

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวลัย ลิ่มโอภาสมณี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด