กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพทีม SRRT ตำบลและการจัดการโรคติดต่อในพื้นที่
รหัสโครงการ
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลางา
วันที่อนุมัติ 19 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 31 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 37,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะรอมลี วาแม็ง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 540 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 785 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
11.24
2 ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
23.64
3 ร้อยละของประชากร อายุมากกว่า 35 ปี ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน ภาวะอ้วนลงพุง
26.78
4 ร้อยละของประชากร อายุมากกว่า 35 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ(ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน)
20.00
5 ร้อยละกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อน
22.40

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน

11.24 1.00
2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง

23.64 1.00
3 เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น CKD CVD ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ร้อยละกลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อน

22.40 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 37,000.00 0 0.00
??/??/???? จัดอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 0 11,000.00 -
??/??/???? รณรงค์ให้ความรู้ ประชาสัมพันธ์ ตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานเบื้องต้นในพื้นที่ โดยอสม. 0 11,000.00 -
??/??/???? ส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค 0 5,000.00 -
??/??/???? ติดตามกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/โรคเบาหวานในพื้นที่ 0 0.00 -
??/??/???? โรงเรียนความดันโลหิตสูง/เบาหวานเพื่อการเรียนรู้และลดภาวะแทรกซ้อน 0 10,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม 2.อัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานในกลุ่มเสี่ยงลดลง 3.กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมทางกายที่เพียงพอ 4.กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูง/เบาหวาน มีความรู้ด้านการดูแลตนเอง และลดภาวะแทรกซ้อน เช่น CKD CVD ได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ธ.ค. 2562 11:51 น.