กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน


“ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2563 ”

อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายซอหมาด บาหลัง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L8406-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L8406-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ควนโดน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาในการดำเนินส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัย พบว่าจากข้อมูลล่าสุดร้อยละของเด็กอายุ0-5ปี สูงดีสมส่วน จังหวัดสตูล (2560,2561,2562งวดที่4)เขตอำเภอควนโดน พบเด็กสูงดีสมส่วนเพียงร้อยละ 42.89, 47.36, 53.76 ตามลำดับ สาเหตุสำคัญส่วนหนึ่งเกิดจากการขาดสารอาหารเรื้อรัง ซึ่งข้อมูลวิชาการในหลายประเทศระบุว่า เด็กแรกเกิดถึง 5 ปีที่เตี้ย มักมีภูมิต้านทานต่ำ ส่งผลให้ติดเชื้อง่าย เจ็บป่วยบ่อย ป่วยนาน และรุนแรง มีโอกาสเสียชีวิตได้ และยังพบว่ามีผลต่อการพัฒนาสมอง โดยระดับสติปัญญาต่ำกว่าเด็กที่มีส่วนสูงตามเกณฑ์ พัฒนาการล่าช้า และความสามารถในการเรียนรู้บกพร่อง ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม เฉื่อยชา ความสูงต่างกันมากกว่า 3.4 ซม.มีผลต่อเกรดที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ เด็กที่มีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 2,500 กรัม หรือมีภาวะเตี้ยมีความเสี่ยงสูงป่วยเป็นโรคเรื้อรังเมื่อโตเป็นผู้ใหญ่ เช่น โรคกระดูกพรุน โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดอีกด้วย เด็กยังประสบปัญหาภาวะทุพโภชนาการเป็นจำนวนมาก
จากรายงานการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนโดน ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา (ต.ค.-ธ.ค.ปีงบประมาณ 2562) จำนวนเด็กที่เฝ้าระวังภาวะโภชนาการทั้งหมด 514 คน พบว่าเด็กที่เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ 133 คน แบ่งเป็นเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 12 คน คิดเป็นร้อยละ2.33 เด็กที่มีน้ำหนักค่อนข้างต่ำกว่าเกณฑ์ 6 คน คิดเป็นร้อยละ1.16 เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ 31 คน คิดเป็นร้อยละ6.03 เด็กที่เริ่มมีน้ำหนักเกินเกณฑ์และท้วม มีทั้งหมด 84 คน คิดเป็นร้อยละ16.34 ซึ่งต้องได้รับการแก้ไขปัญหาต่อไป เพื่อให้เด็ก0-5ปีสูงดีและสมส่วนเพิ่มขึ้น มีภาวะโภชนาการที่สมวัย ส่งผลให้สมองและพัฒนาการที่ดีขึ้น การดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนโดนจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ขึ้นเพื่อสร้างความตระหนักให้ครอบครัวและชุมชนได้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาและพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5ปี
  2. เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็ก0-5ปี ที่เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
  3. เพื่อให้เด็ก0-5ปี มีส่วนสูงอยู่ในระดับดี และรูปร่างสมส่วน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก 0-5 ปี โดยอสม.ที่รับผิดชอบ
  2. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็ก รุ่นที่ 1 เรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการเด็ก0-5ปี
  3. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็ก รุ่นที่ 2 เรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการเด็ก0-5ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 133
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี 88

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 0-5 ปี ในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลควนโดน ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา (ต.ค.-ธ.ค.ปีงบประมาณ 2562) จำนวนเด็กที่เฝ้าระวังภาวะโภชนาการทั้งหมด 514 คน พบว่าเด็กที่เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ 133 คน แบ่งเป็นเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 12 คน คิดเป็นร้อยละ2.33 เด็กที่มีน้ำหนักค่อนข้างต่ำกว่าเกณฑ์ 6 คน คิดเป็นร้อยละ1.16 เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ 31 คน คิดเป็นร้อยละ6.03 เด็กที่เริ่มมีน้ำหนักเกินเกณฑ์และท้วม มีทั้งหมด 84 คน คิดเป็นร้อยละ16.34 ซึ่งต้องได้รับการแก้ไขปัญหาต่อไป เพื่อให้เด็ก0-5ปีสูงดีและสมส่วนเพิ่มขึ้น มีภาวะโภชนาการที่สมวัย ส่งผลให้สมองและพัฒนาการที่ดีขึ้น การดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่พ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก 0-5 ปี โดยอสม.ที่รับผิดชอบ

วันที่ 1 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก 0-5 ปี ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา โดยประสานอสม.ในเขตที่รับผิดชอบ ตำบลควนโดน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ก0-5ปีในเขตตำบลควนโดน ได้ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และนำมาวิเคราะห์ข้อมูล

 

584 0

2. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็ก รุ่นที่ 1 เรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการเด็ก0-5ปี

วันที่ 18 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็ก รุ่นที่1 เรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการเด็ก0-5ปี งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 44 คน ๆ จำนวน 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,200 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 44 คนๆละ50 บ. เป็นเงิน 2,200 บ.

ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน 3 ชม.ๆ ละ300 บาท เป็นเงิน 900 บ.

ติดตามน้ำหนัก ส่วนสูงเด็กอย่างต่อเนื่อง พร้อมวิเคราะห์ข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็ก0-5ปี ได้รับการเฝ้าระวังโภชนาการ
2.ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็กด้านโภชนาการ
3.เด็ก0-5ปี สูงดีสมส่วน

 

44 0

3. กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็ก รุ่นที่ 2 เรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการเด็ก0-5ปี

วันที่ 19 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็ก รุ่นที่2 เรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการเด็ก0-5ปี งบประมาณ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 44 คน ๆ จำนวน 25 บาท/มื้อ จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 2,200 บาท

ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 44 คนๆละ50 บ. เป็นเงิน 2,200 บ.

ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน 3 ชม.ๆ ละ300 บาท เป็นเงิน 900 บ.

ติดตามน้ำหนัก ส่วนสูงเด็กอย่างต่อเนื่อง พร้อมวิเคราะห์ข้อมูล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เด็ก0-5ปี ได้รับการเฝ้าระวังโภชนาการ
2.ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลเด็กด้านโภชนาการ
3.เด็ก0-5ปี สูงดีสมส่วน

 

44 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของ เด็ก0-5ปี ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง
60.00 80.00 92.29

เด็ก0-5ปีในตำบลควนโดนจำนวนทั้งหมด586คนได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง จำนวน539คน คิดเป็นร้อยละ92.29ผ่านเกณฑ์

2 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็ก0-5ปี ที่เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ70ของผู้ปกครองเด็ก0-5ปี ที่เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ
0.00 70.00 90.00

ผู้ปกครองเด็ก0-5ปีมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ คิดเป็นร้อยละ90 ผ่านเกณฑ์

3 เพื่อให้เด็ก0-5ปี มีส่วนสูงอยู่ในระดับดี และรูปร่างสมส่วน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ60 เด็ก0-5ปี สูงดีสมส่วน
50.00 60.00 87.94

เด็ก0-5ปีมีส่วนสูงอยู่ในระดับดี และรูปร่างสมส่วน จำนวน474คน คิดเป็นร้อยละ87.94ผ่านเกณฑ์

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 221 88
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 133
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครองเด็ก0-5ปี 88 88

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการในเด็ก0-5ปี (2) เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็ก0-5ปี ที่เฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการส่งเสริมภาวะโภชนาการ (3) เพื่อให้เด็ก0-5ปี มีส่วนสูงอยู่ในระดับดี และรูปร่างสมส่วน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก 0-5 ปี โดยอสม.ที่รับผิดชอบ (2) กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็ก รุ่นที่ 1 เรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการเด็ก0-5ปี (3) กิจกรรมเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของผู้ปกครองเด็ก รุ่นที่ 2 เรื่องแนวทางการส่งเสริมโภชนาการเด็ก0-5ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็ก 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L8406-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายซอหมาด บาหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด