กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก


“ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ปี 2563 ”

ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2475-04-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลช้างเผือก อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L2475-04-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 105,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 21 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระบบท้องถิ่นหรือพื้นที่ นับเป็นนวัตกรรมทางสังคมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทย มุ่งเน้นการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กร และภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้ามาร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผน และส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ รวมถึงสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเอง จากการดำเนินงานที่ผ่านมา กองทุนอบต.ผดุงมาตร ได้มีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการกองทุนฯ จัดประชุมคณะกรรมการกองทุนและอนุกรรมการกองทุนฯ อีกทั้งยังสนับสนุน ส่งเสริมให้หน่วยบริการ สถานบริการ หน่วยงานสาธารณสุข หรือหน่วยงานอื่น มีการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสุขภาพในกลุ่มวัยต่างๆ ให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลผดุงมาตร บรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.ช้างเผือก ปี 2563 เพื่อเป็นการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการและพัฒนาศักยภาพกองทุน ให้สามารถดำเนินงานได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ
  3. เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2563
  2. ค่าวัสดุในการบริหารจัดการกองทุน
  3. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2563
  4. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2563
  5. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2563
  6. จัดซื้อคอมพิวเตอร์โน๊ตบุกและเครื่องปริ้นเตอร์
  7. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2563
  8. ประชุมเชิงปฏิบัติการการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงฯ
  9. ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2563

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 21

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

-คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน ได้รับการพัฒนาศักยภาพ บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ได้วางไว้ -ประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกได้รับการจัดสรรงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนสุขภาพตำบล -การดำเนินงานกองทุนมีประสิทธิภาพมากขึ้น -หน่วยงานที่ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ ครบถ้วน สมบูรณ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2563

วันที่ 31 มกราคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-พิจารณา คำสั่ง เปลี่ยนแปลงคณะกรรมการกองทุนฯ -พิจารณา คำสั่ง คณะอนุกรรมการ LTC -พิจารณา คำสั่ง คณะอนุกรรมการกองทุนฯ -พิจารณา แผนงาน/โครงการ ปีงบ 2563 ใน ประเภทที่ 10(4) และ 10(5)

 

21 0

2. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2563

วันที่ 11 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พิจารณาแผนงาน/โครงการ ที่หน่วยงานขอรับงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ จำนวน 9 แผนงาน 16 โครงการ

 

9 0

3. ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2563

วันที่ 16 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เชิญคณะอนุกรรมการฯ เข้าร่วมประชุม ประชุมคณะอนุกรรมการฯ เพื่อกลั่นกรองโครงการที่หน่วยรับทุนเสนอขอทุน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พิจารณากลั่นกรองโครงการ จำนวน 6 โครงการ

 

9 0

4. ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2563

วันที่ 17 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

เชิญคณะกรรมการประชุม ประชุมเพื่อพิจารณาโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พิจารณาโครงการ จำนวน 22 โครงการ

 

21 0

5. จัดซื้อคอมพิวเตอร์โน๊ตบุกและเครื่องปริ้นเตอร์

วันที่ 25 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-จัดซื้อคอมพิวเตอร์โน๊ตบุค -จัดซื้อเครื่องปริ้นเตอร์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

6. ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2563

วันที่ 27 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เชิญคณะอนุกรรมการเข้าร่วมประชุม ประชุมคณะอนุกรรมการฯ รายงานสรุปวาระการประชุม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

13 0

7. ประชุมเชิงปฏิบัติการการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงฯ

วันที่ 9 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

-บรรยายและฝึกปฏิบัติ เรื่อง การดำเนินงานการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ของ อปท. -บรรยายและฝึกปฏิบัติ เรื่อง การดำเนินงานการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง ของ ผู้จัดการการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุข (Care manager: CM)
-บรรยายและฝึกปฏิบัติ เรื่อง แนวทางการเขียนแผนการดูแลรายบุคคลสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (Care plan)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงาน LTC

 

20 0

8. ค่าวัสดุในการบริหารจัดการกองทุน

วันที่ 24 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดซื้อวัสดุเพื่อใช้ในการบริหารจัดการกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

0 0

9. ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2563

วันที่ 24 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมสรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2563
อนุมัติแผนการเงิน ปีงบประมาณ 2564

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-

 

29 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน
ตัวชี้วัด : มีจำนวนคณะกรรมการบริหารฯได้รับการพัฒนาศักยภาพฯ โครงการด้านสุขภาพ(คน)
21.00 21.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ
ตัวชี้วัด : จำนวนโครงการที่สามารถติดตามและรายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ(โครงการ)
20.00 20.00

 

3 เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล
ตัวชี้วัด : จำนวนกลุ่มประชาชน ชมรมและหน่วยงานภายนอกที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนโครงการ(กลุ่ม/หน่วยงาน)
10.00 10.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 21
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 21

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และองค์กรผู้รับทุน (2) เพื่อเพิ่มจำนวนโครงการที่รายงานผลการดำเนินงานได้สำเร็จ (3) เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนทั่วไปสามารถขอรับทุนจากกองทุนสุขภาพตำบล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2563 (2) ค่าวัสดุในการบริหารจัดการกองทุน (3) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 1/2563 (4) ประชุมคณะอนุกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2563 (5) ประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ ครั้งที่ 2/2563 (6) จัดซื้อคอมพิวเตอร์โน๊ตบุกและเครื่องปริ้นเตอร์ (7) ประชุมคณะอนุกรรมการ LTC ครั้งที่ 1/2563 (8) ประชุมเชิงปฏิบัติการการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงฯ (9) ประชุมคณะกรรมการบริหารจัดการกองทุนฯ ครั้งที่ 3/2563

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบล อบต.ช้างเผือก ปี 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L2475-04-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด