กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการ “เฝ้าระวังความปลอดภัยร้านค้าของชำและการพัฒนามาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ” ”

ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวคอลีเยาะ ซาและ

ชื่อโครงการ โครงการ “เฝ้าระวังความปลอดภัยร้านค้าของชำและการพัฒนามาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ”

ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L2995-1-008 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “เฝ้าระวังความปลอดภัยร้านค้าของชำและการพัฒนามาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “เฝ้าระวังความปลอดภัยร้านค้าของชำและการพัฒนามาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “เฝ้าระวังความปลอดภัยร้านค้าของชำและการพัฒนามาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L2995-1-008 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,640.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นปัจจัยที่สำคัญต่อการดารงชีวิตมนุษย์ กระทรวงสาธารณสุข จึงได้มีมาตรการทางกฎหมายและนโยบาย ในการควบคุม กำกับ ตรวจสอบดูแลสถานที่สะสมวัตถุดิบ สถานที่ปรุง ประกอบและ จำหน่ายอาหาร ให้มีความเข้มงวดกวดขันเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้ โดยร่วมกับการประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของภาครัฐ ภาคเอกชนอย่างต่อเนื่อง จัดทำแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานความปลอดภัยของอาหารและเผยแพร่ แนวทางการบริโภคอาหาที่ดี ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากอาหาร สร้างเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ส่งเสริมให้ผู้ประกอบการจำหน่ายและผลิตอาหารที่สะอาดและมีคุณภาพ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพดีและห่างไกลโรคโดยเฉพาะโรคเรื้อรังที่เกี่ยวเนื่องกับโภชนาการ เช่นโรคไต โรคมะเร็ง โรคพยาธิ ฯลฯ เป็นต้น จึงได้มีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับการเฝ้าระวังทางสุขาภิบาลอาหาร
        ฉะนั้น เพื่อความปลอดภัยในการบริโภคอาหาร และลดความเสี่ยงจากโรคที่เกิดจากอาหารเป็นสื่อ จึงจำเป็นจะต้องมีการเฝ้าระวังห่วงโซ่อาหาร ของสถานประกอบการด้านอาหารตามกลุ่มเป้าหมาย ที่กำหนดไว้ ได้แก่ ตลาดสด ร้านอาหาร แผงลอย เร่ขาย ที่จำหน่ายอาหารอย่างต่อเนื่อง ดังความที่ว่า “อาหารดีต้องสะอาด ปราศจากพิษภัยและมีคุณค่าครบถ้วน”และเพื่อเป็นการยกระดับมาตรฐานร้านอาหารให้ถูกสุขลักษณะและได้มาตรฐาน นอกจากนั้นยังเป็นการเฝ้าระวัง ป้องปราม เพื่อวางมาตรการในการแก้ไขต่อไป งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันโรคที่เกิดจากอาหาร ปีงบประมาณ 2563             อะหนึ่งตามที่ในปี 2549 รัฐบาลได้มีนโยบายในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานอาหารไทย ตลอดจนการดำเนินการพัฒนาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาลอาหารที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นจึงต้องมีการปรับปรุงและยกระดับมาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสำหรับสถานที่ต่างๆ เช่น ตลาด ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหารโรงอาหารในโรงเรียน เพื่อให้สถานที่ต่างๆได้มาตรฐานตามที่กำหนด อันจะทำให้ประชาชนมีความปลอดภัยจากการบริโภคอาหารเพิ่มขึ้น ในส่วนของการดำเนินงานในเรื่องความปลอดภัยด้านอาหารรัฐบาลมอบให้กระทรวงสาธารณสุขดำเนินโครงการอาหารปลอดภัย เพื่อดูแลมาตรฐานอาหารในประเทศไทย ให้ได้มาตรฐานสากล เนื่องจากอาหารที่วางจำหน่ายในท้องตลาด ปัจจุบันยังมีการปนเปื้อนของสารต้องห้าม อันอาจก่อให้เกิดโรคต่างๆมากมาย อาทิ โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคไต ซึ่งปัจจุบันได้มีมาตรการต่างๆ เพื่อตรวจสอบมาตรฐานอาหารที่จำหน่ายในท้องตลาด เช่น การตรวจสารปนเปื้อนในอาหารสดที่วางจำหน่ายในตลาด การตรวจสอบการปนเปื้อนของอัลฟลาทอกซิน และน้ำมันทอดซ้ำ ของแผงจำหน่ายอาหารในหมู่บ้าน การตรวจสอบมาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหาร การตรวจสอบมาตรฐานสถานที่ผลิตอาหาร รวมถึงการสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารในภาคประชาชน เป็นต้น ซึ่งมาตรการที่ได้กล่าวมาข้างต้น ได้ดำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง และมีการประเมินผลการดำเนินงานเป็นระยะๆ
          ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในงานด้านอาหาร และร้านขายชำดังกล่าวเพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านอาหารปลอดภัยของนโยบายกระทรวงสาธารณสุข และสร้างการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และการสร้างภาคีเครือข่ายในการพัฒนางานด้านอาหารปลอดภัย ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และรักษาคุณภาพด้านอาหาร เครื่องสำอาง เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคในพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในด้านอาหารปลอดภัย 2. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการและอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่มีความตระหนักถึงความสำคัญของการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3.เพื่อเฝ้าระวังความปลอด ของผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหาร อันอาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อสม. ผู้ประกอบการร้านอาหารของชำและผู้ประกอบการร้านอาหารแผงลอยปรุงสำเร็จ
  2. จัดอบรมความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า อสม.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 17
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แผงลอยจำหน่ายอาหารสดและอาหารปรุงสำเร็จ ปราศจากสารปนเปื้อน 3 ชนิดไม่น้อยกว่า 90%
  2. ร้อยละ 30 ของร้านค้าและแผลงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ ผ่านการประเมินมาตรฐานเชิง คุณภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดอบรมความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า อสม.

วันที่ 21 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ดำเนินการตามโครงการ 1.1 จัดอบรมความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า  และอสม.ประจำหมู่บ้าน
1.2 อสม.ที่ผ่านการอบรมออกตรวจและให้คำแนะนำกับหมู่บ้านที่ตัวเองรับผิดชอบ 1.3 ตรวจแนะนำร้านชำ  ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ปรับปรุงและพัฒนาด้านสุขาภิบาล  ให้ได้ตามมาตรฐาน  โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. แผงลอยจำหน่ายอาหารสดและอาหารปรุงสำเร็จ ปราศจากสารปนเปื้อน 3  ชนิดไม่น้อยกว่า 90%
  2. ร้อยละ 30 ของร้านค้าและแผลงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ ผ่านการประเมินมาตรฐานเชิง

 

37 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในด้านอาหารปลอดภัย 2. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการและอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่มีความตระหนักถึงความสำคัญของการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 3.เพื่อเฝ้าระวังความปลอด ของผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหาร อันอาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค 4. เพื่อพัฒนาคุณภาพการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ตัวชี้วัด :
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 37
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 17
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในด้านอาหารปลอดภัย  2. เพื่อรณรงค์ให้ผู้ประกอบการและอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่มีความตระหนักถึงความสำคัญของการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ
3.เพื่อเฝ้าระวังความปลอด ของผลิตภัณฑ์สุขภาพและอาหาร อันอาจจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค
4. เพื่อพัฒนาคุณภาพการจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อสม. ผู้ประกอบการร้านอาหารของชำและผู้ประกอบการร้านอาหารแผงลอยปรุงสำเร็จ (2) จัดอบรมความรู้ผู้ประกอบการร้านค้า  อสม.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ “เฝ้าระวังความปลอดภัยร้านค้าของชำและการพัฒนามาตรฐานร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารปรุงสำเร็จ” จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L2995-1-008

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวคอลีเยาะ ซาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด