กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง


“ โครงการ “กินดี อยู่ดี คุณภาพชีวิตเด็กดีอย่างมีคุณค่า” ”

ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายอัมราน เบ็ญอิสริยา

ชื่อโครงการ โครงการ “กินดี อยู่ดี คุณภาพชีวิตเด็กดีอย่างมีคุณค่า”

ที่อยู่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L2995-1-001 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ “กินดี อยู่ดี คุณภาพชีวิตเด็กดีอย่างมีคุณค่า” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ “กินดี อยู่ดี คุณภาพชีวิตเด็กดีอย่างมีคุณค่า”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ “กินดี อยู่ดี คุณภาพชีวิตเด็กดีอย่างมีคุณค่า” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L2995-1-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านกลาง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการในปัจจุบัน แม้ว่าสภาพสังคมทุกครอบครัวจะมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น แต่ยังมีบางพื้นที่ที่ยังมีปัญหาของภาวะทางโภชนาการอยู่มาก ซึ่งจะเชื่อมโยงในมิติต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพโดยเฉพาะสุขภาพของเด็กอายุ 0-12 ปี เนื่องจากเด็กวัยนี้มีภาวะเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับสุขภาพของเด็กได้แก่ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค พัฒนาการ สุขภาพในช่องปาก เป็นต้น หากเด็กมีปัญหาทางด้านใดด้านหนึ่งก็จะส่งผลกระทบในเรื่องต่างๆตามมา และทำให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้       ในปีงบประมาณ 2562 ที่ผ่านมา พื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง จากผลงานด้านโภชนาการยังถือว่าอยู่ในระดับที่พอใช้ คือไม่ต่ำจนทำให้เกิดปัญหา แต่ทั้งนี้และทั้งนั้นเราจะต้องเฝ้าระวังในเรื่องของโภชนาการต่อไป เนื่องจากในพื้นยังคงมีเด็กที่อาศัยอยู่กับผู้สูงอายุ เพราะผู้ปกครองออกไปทำงานรับจ้างต่างพื้นที่ บางคนผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการเลี้ยงดูบุตรให้มีคุณภาพโดยเฉพาะอาหารการกินที่เกิดประโยชน์ต่อเด็ก เด็กบางคนรับประทานอาหารในซองซึ่งมีผงชูรสมากทำให้เด็กบางคนขาดสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย บางครอบครัวมรปัญหาด้านเศรษฐกิจและมีถานะยากจน เป็นต้น       จากสาเหตุดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง จึงได้จัดทำแผนงานดังกล่าวในการแก้ไขปัญหาดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น และหวังว่าจะช่วยลดปัญหาดังกล่าวให้ดีขึ้น ลดความเสี่ยงจากการมีคุณภาพที่ชีวิตที่ไม่ดีด้านสุขภาพของเด็กในพื้นที่ ให้มีคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพให้ดีขึ้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้การดำเนินโครงการเกิดความเข้าใจตรงกัน และลดปัญหาในการจัดกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ในการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการ 3. เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี เด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 26
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้รับผิดชอบโครงการ ตลอดจนทีมงานสามารถดำเนินโครงการประสบผลสำเร็จ ไม่มีปัญหาและอุปสรรคในการจัดกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ
  2. ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี มีความรู้ ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการมากขึ้น
  3. อัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี มีผลงานที่ดีขึ้น และมีการเฝ้าระวังมากกขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี เด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรุ้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี หรือ เด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี มีผลงานที่ดีขึ้นและมีการเฝ้าระวังมากขึ้น

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี หรือ เด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการ วันที่ 23 กรกฏาคม 2563 ณ โรงพยาบาลส้งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกลาง มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
-ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี จำนวน 30 คน -เจ้าหน้าที่และอสม. จำนวน 26 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้การดำเนินโครงการเกิดความเข้าใจตรงกัน และลดปัญหาในการจัดกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี ในการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการ 3. เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการในเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด :
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56 56
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 26 26
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้การดำเนินโครงการเกิดความเข้าใจตรงกัน  และลดปัญหาในการจัดกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ  2. เพื่อเสริมสร้างความรู้  ความเข้าใจ  และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองเด็กอายุ  0-5 ปี  ในการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการ  3. เพื่อเพิ่มอัตราความครอบคลุมของการเฝ้าระวังภาวะทางโภชนาการในเด็กอายุ  0-5  ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็ก อายุ 0-5 ปี  เด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ “กินดี อยู่ดี คุณภาพชีวิตเด็กดีอย่างมีคุณค่า” จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L2995-1-001

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอัมราน เบ็ญอิสริยา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด