กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ และเด็กที่มารับบริการวัคซีน ”

ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.โคกตก

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ และเด็กที่มารับบริการวัคซีน

ที่อยู่ ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5256-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ และเด็กที่มารับบริการวัคซีน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ และเด็กที่มารับบริการวัคซีน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ และเด็กที่มารับบริการวัคซีน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งพอ อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5256-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งพอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในช่วงตั้งครรภ์ หญิงมีครรภ์จะมีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนในร่างกาย และมีพฤติกรรมการกินอาหารระหว่างมื้อมากกว่าปกติ ซึ่งจะมีผลทำให้เกิดโรคเหงือกอักเสบและฟันผุได้ง่าย ฟันผุเป็นโรคติดเชื้อที่สามารถถ่ายทอดเชื้อจากแม่สู่ลูกได้โดยผ่านทางน้ำลาย และถือว่าแม่เป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อที่สำคัญมาสู่ลูก ดังนั้น การลดปริมาณเชื้อในน้ำลายของแม่โดยการควบคุมแผ่นคราบจุลินทรีย์ด้วยการขูดหินน้ำลายเพื่อลดการส่งผ่านเชื้อจากแม่สู่ลูก จึงเป็นวิธีการป้องกันโรคในช่องปากที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง การดูแลสุขภาพช่องปากให้กับหญิงมีครรภ์ด้วยการสร้างความตระหนักและให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพแก่แม่ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ รวมทั้งการปรับพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ของแม่ จึงเป็นส่วนหนึ่งที่ควรบูรณาการไปพร้อมกับการให้บริการทันตกรรมในหญิงมีครรภ์ หากหญิงมีครรภ์ที่สามารถดูแลความสะอาดช่องปากของตนเองได้ดีจะแสดงให้เห็นถึงความมีพฤติกรรมที่ดีในการดูแลตนเองของแม่และจะส่งผลต่อการดูแลสุขภาพช่องปากของลูกด้วย การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในช่องปากในเด็กควรเริ่มตั้งแต่แม่ตั้งครรภ์ การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันฟันผุในเด็กต้องอาศัยความร่วมมือของบุคลากรสาธารณสุขหลายฝ่ายรวมทั้งครอบครัวต้องให้ความสำคัญในการสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านของลูกน้อยโดยผู้ปกครองเด็กเป็นบุคคลที่มีความสำคัญ ในการปลูกฝังและเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งทางด้านร่างกาย สังคม อารมณ์ และสติปัญญา ซึ่งจะส่งผลให้เด็กเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีสุขภาพช่องปากที่ดี เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้ปกครอง มีความรู้และได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็ก
ดังนั้นคลินิกฝากครรภ์ (ANC) และคลินิกสุขภาพเด็กดี (WBC) ของทุกสถานบริการสาธารณสุขจึงเป็นสถานที่ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขมีโอกาสพบเด็กและพ่อแม่เป็นระยะสม่ำเสมอทำให้เหมาะสมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพ ในเด็ก๐-๕ ปี งานทันตกรรมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกตก จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ และเด็กที่มารับบริการวัคซีนขึ้นเพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงในการดูแลทันตสุขภาพของแม่และเด็กอย่างครอบคลุม ในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑ หญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากร้อยละ ๙๐ ๒ หญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง ร้อยละ ๙๐ ๓ หญิงมีครรภ์ที่มาฝากครรภ์ได้รับบริการทันตกรรม ร้อยละ๘๐ ๔ เด็กที่มารับบริการฉีดวัคซีนคลินิกเด็กดีได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และทาฟลูออไรด์วานิช ร้อยละ ๘๐ ๕ เด็กมีฟันน้ำนมผุไม่เกินร้อยละ ๕๕ ๖ ผู้ปกครองเด็กได้รับการฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้อง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 100
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพทันตสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์ และเด็กที่มารับบริการวัคซีน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5256-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.โคกตก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด