กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ


“ โครงการเฝ้าระวังสุขภาพของคนในชุมชน บ้านปลักซิมปอ ม.6 ตำบลควนสตออำเภอควนโดนจังหวัดสตูล ”

ณ อาคารเอกประสงค์ หมู่ที่ 6 บ้านปลักซิมปอ

หัวหน้าโครงการ
นางปทุมวดี หลีเยาว์

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังสุขภาพของคนในชุมชน บ้านปลักซิมปอ ม.6 ตำบลควนสตออำเภอควนโดนจังหวัดสตูล

ที่อยู่ ณ อาคารเอกประสงค์ หมู่ที่ 6 บ้านปลักซิมปอ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5284-02-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังสุขภาพของคนในชุมชน บ้านปลักซิมปอ ม.6 ตำบลควนสตออำเภอควนโดนจังหวัดสตูล จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ณ อาคารเอกประสงค์ หมู่ที่ 6 บ้านปลักซิมปอ

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังสุขภาพของคนในชุมชน บ้านปลักซิมปอ ม.6 ตำบลควนสตออำเภอควนโดนจังหวัดสตูล



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังสุขภาพของคนในชุมชน บ้านปลักซิมปอ ม.6 ตำบลควนสตออำเภอควนโดนจังหวัดสตูล " ดำเนินการในพื้นที่ ณ อาคารเอกประสงค์ หมู่ที่ 6 บ้านปลักซิมปอ รหัสโครงการ 63-L5284-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนสตอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งด้านความเจริญทางเทคโนโลยี วัตถุ สังคม การเมืองและเศรษฐกิจ รวมไปถึงลักษณะของประชากรและภาวะสุขภาพ วิทยาการทางการแพทย์เจริญขึ้นสามารถให้การรักษาโรคได้มากขึ้น ทำให้ปัจจุบันประเทศไทยเปลี่ยนเป็นสังคมของผู้สูงอายุและเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้น(จากข้อมูลสถิติรายงานการป่วยของสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์พบว่า ในปี ๒๕๕๓ มีผู้ป่วยโรคระบบไหลเวียนเลือดเพิ่มขึ้น ๑.๗๑ เท่า และโรคเบาหวานเพิ่มขึ้น ๑.๔๕ เท่าของปี ๒๕๕๑) และการเปลี่ยนแปลงทางสังคมยังส่งผลกระทบต่อปัญหาการดำเนินชีวิตและภาวะสุขภาพในระยะยาว
การคัดกรองภาวะสุขภาพประชาชน เป็นการค้นหา เฝ้าระวังป้องกันโรค ลดภาวะแทรกซ้อนของโรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไขมัน เป็นต้น รวมทั้งเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคเรื้อรังเบื้องต้น จากข้อมูลผู้ป่วยที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังในเขตตำบลควนสตอ ปี 2562 พบว่ามีผู้ป่วยป่วยด้ายโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 335 ราย ผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 159 ราย แนวโน้มว่าจะมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทุกปี ถ้าไม่ได้รับการตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพและได้รับการรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขหมู่ที่ 6 ตำบลควนสตอ จึงได้ตระหนักถึงความสำคัญในการคัดกรองสุขภาพประชาชนในเขตรับผิดชอบ เพื่อค้นหา เฝ้าระวัง และกระตุ้นให้ประชาชนดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้อย่างถูกต้องต่อไป สุขภาพเป็นองค์ประกอบสำคัญของบุคคล ครอบครัว และชุมชน หากบุคคลมีสุขภาพที่ดีแล้ว ย่อมส่งผลให้สามารถกระทำกิจกรรมใดๆได้อย่างเต็มที่ ฉะนั้นจึงต้องสร้างกลยุทธ์การดำเนินการและกิจกรรมในพื้นที่เพื่อมุ่งหวังให้เกิดการส่งเสริมสุขภาพในกลุ่มประชาชนที่มีความแตกต่างกันในทุกกลุ่มอายุ ทุกสาขาอาชีพ และทุกสภาวะสุขภาพให้มีสุขภาพดี สามารถดำรงชีวิตและประกอบสัมมาอาชีพได้อย่างปกติสุข สนับสนุนให้ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง มีความรู้ในการป้องกันโรคให้อยู่ในภาวะสุขภาพที่ดี สามารถดูแลสุขภาพตนเอง สามารถจัดการกับภาวะเสี่ยงต่างๆ และดูแลสิ่งแวดล้อมของชุมชนให้เหมาะสมกับการดำรงชีวิตที่มีคุณภาพ ทาง อสม.ซึ่งเป็นภาคีเครือข่ายด้านสุขภาพในพื้นที่จึงได้จัดทำโครงการการเฝ้าระวังสุขภาพของคนในชุมชน'บ้านปลักซิมปอม.6ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดนจังหวัดสตูลในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ขึ้น โดยเน้นให้ประชาชนปรับพฤติกรรมเพื่อเปลี่ยนสุขภาพโดยการปฏิบัติตัวตามหลัก ๓อ.๒ส. ที่ต่อเนื่องและยั่งยืน คือออกกำลังกายและรับประทานอาหารที่ถูกต้องเหมาะสมโดยเฉพาะเพิ่มผักและผลไม้ที่ผลิตขึ้นเองในชุมชนและปลอดสารพิษ เป็นการเสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง สนับสนุนให้ชุมชนพึ่งพาตนเองได้ เสริมทักษะชีวิตในการจัดการที่ดี เพื่อป้องกันและควบคุมสุขภาพของตน โดยสร้างการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการขับเคลื่อนการดำเนินงานผ่านกลไกของกระบวนการหมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดเสี่ยง ลดโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง
  2. เพื่อจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในชมรมรักษ์สุขภาพตำบลควนสตอ
  3. เพื่อให้แกนนำ/เครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดระบบข้อมูลด้านสุขภาพเพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธ์และการจัดการสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการเฝ้าระวังสุขภาพของคนในชุมชน บ้านปลักซิมปอ ม.6 ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในพื้นที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสมมากขึ้น 2. เกิดความร่วมมือของภาคีเครือข่ายที่หลากหลายในการขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนอย่างยั่งยืน 3. เกิด ชุมชน/หมู่บ้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดเสี่ยง ลดโรค ครอบคลุมทุกหมู่บ้าน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูงทุกคนได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน
0.00

 

2 เพื่อจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในชมรมรักษ์สุขภาพตำบลควนสตอ
ตัวชี้วัด : 50 ของกลุ่มเป้าหมาย มีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ตามหลักการ 3อ2ส ได้ดีขึ้น
0.00

 

3 เพื่อให้แกนนำ/เครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดระบบข้อมูลด้านสุขภาพเพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธ์และการจัดการสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของแกนนำ/เครือข่าย มีความรู้ความเข้าใจในข้อมูลด้านการดูแลสุขภาพและสามารถสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 15
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อคัดกรองและเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปที่มีความเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพในชมรมรักษ์สุขภาพตำบลควนสตอ (3) เพื่อให้แกนนำ/เครือข่ายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดระบบข้อมูลด้านสุขภาพเพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธ์และการจัดการสุขภาพตนเอง ครอบครัวและชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการเฝ้าระวังสุขภาพของคนในชุมชน บ้านปลักซิมปอ ม.6 ตำบลควนสตอ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังสุขภาพของคนในชุมชน บ้านปลักซิมปอ ม.6 ตำบลควนสตออำเภอควนโดนจังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5284-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปทุมวดี หลีเยาว์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด