โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2563-L5275-1-2 เลขที่ข้อตกลง 2/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2563-L5275-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกถือเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียต่อชีวิตและเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด แต่กลับพบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลง ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา สถานการณ์โรคไข้เลือดออกไทย ปี ๒๕๖๑ มีผู้ป่วยไข้เลือดออก ๘๔,๘๓๐ ราย อัตราป่วย ๑๒๙.๖๖ ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต ๑๐๙ ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๑๗ ส่วนข้อมูลปี ๒๕๖๒ ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม – ๒๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ พบผู้ป่วยสะสม ๑๐๕,๑๙๐ ราย อัตราป่วย ๑๕๘.๖๕ ต่อแสนประชากร เสียชีวิต ๑๑๔ ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๑๑ ซึ่งพบผู้ป่วยสูงกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขคาดการณ์ไว้เมื่อต้นปี ๒๕๖๒ ที่ประมาณ ๙๔,๐๐๐ – ๙๕,๐๐๐ ราย โดยพบมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกต่อเนื่องและมีผู้ป่วยมากกว่า ปี ๒๕๖๑ ถึง ๒๐,๓๖๐ ราย
สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่จังหวัดสงขลาปี ๒๕๖๑ พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ๒,๑๘๒ ราย อัตราป่วย ๑๕๔.๘๗ ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต ๔ ราย ผู้เสียชีวิต ๒ ราย อยู่ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ และ ๑ รายเป็นประชากรในพื้นที่หมู่ที่ ๒ ตำบลทุ่งตำเสา โดยในปี ๒๕๖๑ ตำบลทุ่งตำเสา พบผู้ป่วยไข้เลือดออกรวมทั้งหมด ๖๔ ราย ส่วนสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี ๒๕๖๒ ข้อมูล ณ วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๒ พบผู้ป่วยสะสมจังหวัดสงขลา จำนวน ๒,๓๗๓ ราย อัตราป่วย ๑๖๘.๔๓ ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต ๒ ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๐๙ พื้นที่อำเภอหาดใหญ่พบผู้ป่วยสะสมตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม - ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๒ จำนวน ๕๕๕ ราย อัตราป่วย ๑๓๙.๖๗ ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิต เมื่อจำแนกรายอำเภอพบว่าอำเภอหาดใหญ่พบผู้ป่วยเป็นอันดับ ๑ ของจังหวัดสงขลา ส่วนพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา ข้อมูลจากระบบรายงานเฝ้าระวังโรค ๕๐๖ โรงพยาบาลหาดใหญ่ ณ วันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๒ มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๔๑ ราย นอกจากโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ยังพบผู้ป่วยโรคติดต่อโดยยุงอื่นอีก ๓ ประเภท คือ โรคไข้ปวดข้อยุงลาย จำนวน ๒๕ ราย โรคมาลาเรีย ๑ ราย ซึ่งโรคดังกล่าวถือเป็นปัญหาสาธารณสุขเช่นกัน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ ที่ผ่านมา เทศบาลเมืองทุ่งตำเสาและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ได้ดำเนินการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคมาโดยตลอด แต่ปัญหาที่พบและมีความสำคัญต่อการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค คือ ชุมชนส่วนหนึ่งยังมีแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุง และที่พักอาศัยยุง รวมทั้งมาตรการในการควบคุมโรคของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ ไม่เป็นไปตามมาตรการในการควบคุมโรคตามมาตรการ ๓ ๑ ๑ ทำให้ไม่สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ดังนั้น งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุง ขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกซึ่งถือเป็นโรคประจำถิ่นในพื้นตำบลทุ่งตำเสา และโรคติดต่อโดยยุง ประชาสัมพันธ์ความรู้ที่ถูกต้องในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคแก่ประชาชนในพื้นที่ สร้างภาคีเครือข่ายในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคตำบลทุ่งตำเสาให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุมโรค และเพื่อประกาศเกียรติคุณแก่หมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โดยการรักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง เป็นต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดี ในการป้องกันและควบคุมโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบล ทุ่งตำเสา
- ๒.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการดำเนิน การควบคุมโรค
- ๓.เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่หมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โดยการรักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง เป็นต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา
๒. มีวัสดุ อุปกรณ์เพียงพอต่อกิจกรรมการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา
๓. ชุมชน มีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุมและป้องกันจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุง
๔. มีภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงที่มีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบล ทุ่งตำเสา
ตัวชี้วัด : ๑. ผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงได้รับการควบคุมการแพร่ระบาดโรคตามมาตรการ ๓ ๑ ๑ ๑๐๐%
0.00
2
๒.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการดำเนิน การควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : ๒. มีสื่อประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องการป้องกันจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา ครอบคลุมทั้ง ๑๐ หมู่บ้าน
0.00
3
๓.เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่หมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โดยการรักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง เป็นต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดี
ตัวชี้วัด : ๓.หมู่บ้านในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสามีค่า HI<๑๐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ๘๐
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบล ทุ่งตำเสา (2) ๒.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการดำเนิน การควบคุมโรค (3) ๓.เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่หมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โดยการรักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง เป็นต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2563-L5275-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา ”
ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2563-L5275-1-2 เลขที่ข้อตกลง 2/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งตำเสา อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2563-L5275-1-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 68,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองทุ่งตำเสา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออกถือเป็นปัญหาสาธารณสุขไทยตลอดมา เพราะโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สร้างความสูญเสียต่อชีวิตและเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งที่ทุกฝ่ายได้ช่วยกันรณรงค์ป้องกันและควบคุมมาโดยตลอด แต่กลับพบว่าปัญหาโรคไข้เลือดออกไม่ได้ลดลง ยังคงเป็นปัญหาสำคัญในระดับประเทศเรื่อยมา สถานการณ์โรคไข้เลือดออกไทย ปี ๒๕๖๑ มีผู้ป่วยไข้เลือดออก ๘๔,๘๓๐ ราย อัตราป่วย ๑๒๙.๖๖ ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต ๑๐๙ ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๑๗ ส่วนข้อมูลปี ๒๕๖๒ ตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม – ๒๒ ตุลาคม ๒๕๖๒ พบผู้ป่วยสะสม ๑๐๕,๑๙๐ ราย อัตราป่วย ๑๕๘.๖๕ ต่อแสนประชากร เสียชีวิต ๑๑๔ ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๑๑ ซึ่งพบผู้ป่วยสูงกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขคาดการณ์ไว้เมื่อต้นปี ๒๕๖๒ ที่ประมาณ ๙๔,๐๐๐ – ๙๕,๐๐๐ ราย โดยพบมีการระบาดของโรคไข้เลือดออกต่อเนื่องและมีผู้ป่วยมากกว่า ปี ๒๕๖๑ ถึง ๒๐,๓๖๐ ราย สถานการณ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่จังหวัดสงขลาปี ๒๕๖๑ พบผู้ป่วยไข้เลือดออก ๒,๑๘๒ ราย อัตราป่วย ๑๕๔.๘๗ ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต ๔ ราย ผู้เสียชีวิต ๒ ราย อยู่ในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่ และ ๑ รายเป็นประชากรในพื้นที่หมู่ที่ ๒ ตำบลทุ่งตำเสา โดยในปี ๒๕๖๑ ตำบลทุ่งตำเสา พบผู้ป่วยไข้เลือดออกรวมทั้งหมด ๖๔ ราย ส่วนสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในปี ๒๕๖๒ ข้อมูล ณ วันที่ ๒๒ กันยายน ๒๕๖๒ พบผู้ป่วยสะสมจังหวัดสงขลา จำนวน ๒,๓๗๓ ราย อัตราป่วย ๑๖๘.๔๓ ต่อประชากรแสนคน เสียชีวิต ๒ ราย อัตราป่วยตายร้อยละ ๐.๐๙ พื้นที่อำเภอหาดใหญ่พบผู้ป่วยสะสมตั้งแต่วันที่ ๑ มกราคม - ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๒ จำนวน ๕๕๕ ราย อัตราป่วย ๑๓๙.๖๗ ต่อประชากรแสนคน ไม่มีผู้เสียชีวิต เมื่อจำแนกรายอำเภอพบว่าอำเภอหาดใหญ่พบผู้ป่วยเป็นอันดับ ๑ ของจังหวัดสงขลา ส่วนพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา ข้อมูลจากระบบรายงานเฝ้าระวังโรค ๕๐๖ โรงพยาบาลหาดใหญ่ ณ วันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๒ มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน ๔๑ ราย นอกจากโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ยังพบผู้ป่วยโรคติดต่อโดยยุงอื่นอีก ๓ ประเภท คือ โรคไข้ปวดข้อยุงลาย จำนวน ๒๕ ราย โรคมาลาเรีย ๑ ราย ซึ่งโรคดังกล่าวถือเป็นปัญหาสาธารณสุขเช่นกัน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๒ ที่ผ่านมา เทศบาลเมืองทุ่งตำเสาและภาคีเครือข่ายในพื้นที่ได้ดำเนินการ รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคมาโดยตลอด แต่ปัญหาที่พบและมีความสำคัญต่อการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค คือ ชุมชนส่วนหนึ่งยังมีแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุง และที่พักอาศัยยุง รวมทั้งมาตรการในการควบคุมโรคของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ ไม่เป็นไปตามมาตรการในการควบคุมโรคตามมาตรการ ๓ ๑ ๑ ทำให้ไม่สามารถควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุง ขึ้น เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกซึ่งถือเป็นโรคประจำถิ่นในพื้นตำบลทุ่งตำเสา และโรคติดต่อโดยยุง ประชาสัมพันธ์ความรู้ที่ถูกต้องในการป้องกันตนเองและครอบครัวจากโรคแก่ประชาชนในพื้นที่ สร้างภาคีเครือข่ายในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคตำบลทุ่งตำเสาให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุมโรค และเพื่อประกาศเกียรติคุณแก่หมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โดยการรักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง เป็นต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดี ในการป้องกันและควบคุมโรค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบล ทุ่งตำเสา
- ๒.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการดำเนิน การควบคุมโรค
- ๓.เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่หมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โดยการรักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง เป็นต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดี
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา
๒. มีวัสดุ อุปกรณ์เพียงพอต่อกิจกรรมการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา
๓. ชุมชน มีส่วนร่วมในการดำเนินการควบคุมและป้องกันจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุง
๔. มีภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานควบคุมและป้องกันโรคติดต่อโดยยุงที่มีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบล ทุ่งตำเสา ตัวชี้วัด : ๑. ผู้ป่วยไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงได้รับการควบคุมการแพร่ระบาดโรคตามมาตรการ ๓ ๑ ๑ ๑๐๐% |
0.00 |
|
||
2 | ๒.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการดำเนิน การควบคุมโรค ตัวชี้วัด : ๒. มีสื่อประชาสัมพันธ์ความรู้เรื่องการป้องกันจากโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสา ครอบคลุมทั้ง ๑๐ หมู่บ้าน |
0.00 |
|
||
3 | ๓.เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่หมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โดยการรักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง เป็นต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดี ตัวชี้วัด : ๓.หมู่บ้านในพื้นที่ตำบลทุ่งตำเสามีค่า HI<๑๐ ไม่น้อยกว่าร้อยละ๘๐ |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑.เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงในพื้นที่ตำบล ทุ่งตำเสา (2) ๒.เพื่อส่งเสริมให้ชุมชน มีส่วนร่วมในการดำเนิน การควบคุมโรค (3) ๓.เพื่อประกาศเกียรติคุณแก่หมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จในการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โดยการรักษาความสะอาด กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุง เป็นต้นแบบ เป็นตัวอย่างที่ดี
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกและโรคติดต่อโดยยุงตำบลทุ่งตำเสา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 2563-L5275-1-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอาลัชฎาวรรณ สุวรรณะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......