กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2560 ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายสุพจน์ จูดคง




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2560

ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 020032560 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 020032560 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 46,850.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กำหนดวิสัยทัศน์ ที่มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีความสำรึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิไตย อันมีพระกษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ และกำหนดจุดหมายในการจัดการศึกษาเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน มีสุขภาพกายและจิตที่ดี และรักการออกกำลังกาย ภาวะโภชนาการในเด็กมีผลกระทบต่อพัฒนาการทั้งร่างกายสติปัญญา อารมณ์ และสังคม ซึ่งเป็นปัญหสาธารณสุขเร่งด่วนที่ต้องดำเนินการควบคุมป้องกัน และแก้ไขในระยะ 8 ปี ที่ผ่านมาจนถุงปัจจุบัน (พ.ศ. 2546-2555) พบปัญหาภาวะโภชนาการเกินในเด็กวัยเรียนมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น จากการสำรวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทย ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2546 เด็กวัยเรียนเป็นโรคอ้วนร้อยละ 13.6 และจากการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน พ.ศ. 2553 พบว่าเป็นโรคอ้วนร้อยละ 13.7 และในปีพ.ศ. 2554 พบร้อยละ 17 และสถานการณ์ปัญหาในปี พ.ศ. 2556 พบว่าเด็กวัยเรียน 5-12 ปี จำนวน8371 คน ซึ่งพบปัญหาสุขภาพที่สำคัญในด้านโภชนาการคือ เด็กอายุ 6-12 ปี มีส่วนสูงระดับ ดี และรูปร่างสมส่วน เพียงร้อยละ 60.7 และภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนร้อยละ 8.8 และเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 9.5 ในพ.ศ.2557 สาเหตุของโรคอ้วนเกิดจากการมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม การบริโภคอาหารที่ไม่ได้สัดส่วนและปริมาณที่เหมาะสมตามวัย ได้แก่ ข้าว แป้ง น้ำตาล และไขมันสูง รับประทานผลไม้น้อย เคลื่อนไหวออกแรงและออกกำลังกายน้อยแต่ละวัน รวมทั้งค่านิยมกินอาหาร วัฒนธรรมตะวันตก คืออาหารขยะ อาหารจานด่วน น้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ เป็นต้น ซึ่งนำไปสู่สาเหตุของการเกิดโรคเรื้อรังที่ไม่ติดต่อ เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคอ้วน เป็นต้น ปัญหาดังกล่าวนอกจากส่งผลกระทบรุนแรงต่อสุขภาพแล้วยังส่งผลเชิงลบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
จากเหตุผลดังกล่าวโรงเรียนเทศบาลบ้านคูหาสวรรค์ จึงได้ร่วมกับกลุ่มงานสุขศึกษาโรงพยาบาลพัทลุงจึงจัดโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี พ.ศ. 2560 เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะอ้วนให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-5

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถุูกต้อง ตามหลัก 3 อ.(อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
  2. 2. เพื่อสร้างความตระหนักการดูแลสุขภาพของกลุ่มเด็กอ้วน
  3. ิ3. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในเด็กอ้วน(เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมด้านอาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย ดีขึ้นร้อยละ 90
  2. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ ร้อยละ 90
  3. คัดกรองความเสี่ยงโรคอ้วนโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง ในกลุ่มเป้าหมายได้ร้อยละ 100

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน

วันที่ 7 พฤษภาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

-คัดกรองนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย -ประชุมชี้แจงผู้ปกครอง -เจาะเลือดกลุ่มเป้าหมายพร้อมบรรยายวิชาการ -ติดตามประเมิณผล ระยะ 1เดือน / 3 เดือน /6เดือน พร้อมบรรยายวิชาการ -สรุปผลการดำเนินงานพร้อมมอบเกียรติบัตรและเงินรางวัลแก่นักเรียนต้นแบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. ทำให้น้ำตาลในเลือดลดลง ระดับไขมัน HDL เพิ่มขึ้นและมีหารออกกำลังกาย

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

นักเรียนได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถูกต้องตามหลัก 3อ. ทำให้น้ำตาลในเลือดลดลง ระดับไขมัน HDL เพิ่มขึ้นและมีหารออกกำลังกาย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถุูกต้อง ตามหลัก 3 อ.(อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย)
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดีขึ้นร้อยละ 90

 

2 2. เพื่อสร้างความตระหนักการดูแลสุขภาพของกลุ่มเด็กอ้วน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม มีความพึงพอใจร้อยละ 90

 

3 ิ3. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในเด็กอ้วน(เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)
ตัวชี้วัด : คัดกรองความเสี่ยงในกลุ่มเป้าหมาย ร้อยละ 100

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ถุูกต้อง ตามหลัก 3 อ.(อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) (2) 2. เพื่อสร้างความตระหนักการดูแลสุขภาพของกลุ่มเด็กอ้วน (3) ิ3. เพื่อคัดกรองกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรังในเด็กอ้วน(เบาหวาน ความดันโลหิตสูง)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมภาวะโภชนาการเกินในเด็กอ้วน ประจำปี 2560 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 020032560

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุพจน์ จูดคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด