กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและแก้ไขภาวะขาดสารอาหารในเด็กปฐมวัย เขตเทศบาลนครยะลา ”

ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางมยุรี ยีปาโล๊ะ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสาขาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและแก้ไขภาวะขาดสารอาหารในเด็กปฐมวัย เขตเทศบาลนครยะลา

ที่อยู่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 2 – 2 เลขที่ข้อตกลง 12-2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 พฤศจิกายน 2562 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและแก้ไขภาวะขาดสารอาหารในเด็กปฐมวัย เขตเทศบาลนครยะลา จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและแก้ไขภาวะขาดสารอาหารในเด็กปฐมวัย เขตเทศบาลนครยะลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและแก้ไขภาวะขาดสารอาหารในเด็กปฐมวัย เขตเทศบาลนครยะลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลยะลา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62 – L7452 – 2 – 2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 พฤศจิกายน 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,755.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครยะลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กเป็นวัยที่มีการเจริญเติบโตทั้งอวัยวะภายในและภายนอกอย่างรวดเร็ว โดยช่วงอายุแรกเกิด ถึง 2 ปี จะมีการเจริญเติบโตของระบบประสาทสูงสุดร้อยละ 75 ของทั้งหมด และจะมีการเจริญเติบโตถึงร้อยละ 90 ของทั้งหมด เมื่ออายุ 3 ปี (กรมอนามัย, 2556) ภาวะขาดสารอาหาร (malnutrition) ในระยะเวลา 2-3 ปีแรกของชีวิตจะมีผลกระทบต่อระดับสติปัญญาและการเรียนรู้ ในภายหลัง อวัยวะอื่น ๆ ก็จะได้รับผลกระทบจากภาวะขาดสารอาหาร เช่น หัวใจ ตับ ไต กล้ามเนื้อ เป็นต้น ภาวะขาดสารอาหารนี้เกิดจาก 2 สาเหตุ 1) เหตุปฐมภูมิ คือ ไม่ได้รับสารอาหารที่มีคุณภาพ และปริมาณที่เหมาะสมกับวัย 2) เหตุทุติยภูมิคือ จากความบกพร่องต่างๆจากการกิน การย่อย การดูดซึม และการใช้สารอาหาร (อัจฉรา, 2558) ซึ่งภาวะขาดสารอาหารเรื้อรังจะทำให้เด็กเกิดภาวะเตี้ยแคระแกร็น เจ็บป่วยพิการง่ายและอาจส่งผลต่อชีวิตได้ (องค์การยูนิเซฟ, 2554) เด็กปฐมวัยที่มีภาวะขาดสารอาหารในประเทศไทยยังคงมีจำนวนมาก โดยเฉพาะในภาคใต้มีเด็กปฐมวัยขาดสารอาหารมากที่สุดร้อยละ 11 รองลงมา คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน และกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (ร้อยละ 9.1, 8.3, 6.3 และ5.3 ตามลำดับ)  โดยในภาคใต้ จังหวัดนราธิวาสมีเด็กปฐมวัยที่มีภาวะขาดสารอาหารมากที่สุด (ร้อยละ 29) ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของประเทศอยู่ที่ร้อยละ 11 ซึ่งมากกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศกว่า 2 เท่า ในขณะที่จังหวัดยะลา ปัตตานี สงขลา และสตูล อัตราอยู่ที่ร้อยละ 21 ,19 ,17 และ13 ตามลำดับ (องค์การยูนิเซฟ, 2560) สำหรับในเขตพื้นที่เทศบาลนครยะลา ในปี 2561 พบเด็กปฐมวัยมีภาวะขาดสารอาหาร (น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ผอม เตี้ย) จำนวน 29 คน จากเด็กทั้งหมด 211 คน คิดเป็นร้อยละ 13.77 และในปี 2562 มีจำนวน 35 คน จากเด็กทั้งหมด 239 คน คิดเป็นร้อยละ 14.64 ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น (สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครยะลา, 2562) แม้ว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่ได้ชื่อว่ามีความอุดมสมบูรณ์ด้านโดยสามารถส่งออกอาหาร ซึ่งเป็นผลิตผลทางการเกษตรบางชนิดอยู่ในอันดับต้นๆ ของโลก แต่อย่างไรก็ตามภาวะขาดสารอาหารของเด็กก็ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยที่จะต้องได้รับการแก้ไขและควบคุมป้องกันเป็นการเร่งด่วน เนื่องจากมีผลกระทบใหญ่หลวงต่อคุณภาพชีวิตของประชากร และการพัฒนาประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่กำลังเจริญเติบโตทางด้านร่างกาย มีการพัฒนาของสมองและสติปัญญา และจะเป็นอนาคตของชาติต่อไป (สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานเยาวชนแห่งชาติ, 2551) ไข่ไก่ถือเป็นแหล่งอาหารโปรตีนที่มีคุณค่าหาได้ง่าย ราคาถูก เหมาะสำหรับทุกเพศทุกวัย โดยเฉพาะวัยเด็กซึ่งอยู่ในวัยที่กำลังเจริญเติบโต จากการวิจัยของหลายสถาบันพบว่า ไข่ไก่มีปริมาณโคลีน (Choline) อยู่ในระดับสูง โดยโคลีนจัดเป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างเซลล์สมอง อีกทั้งยังมีผลต่อประสิทธิภาพความจำและความสามารถในการเรียนรู้ของคน ซึ่งถือว่าไข่ไก่เป็นสารอาหารที่มีความสำคัญสำหรับวัยเด็กมาก นอกจากนี้ นม ยังเป็นอาหารอีกชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตของเด็กมาก จากการศึกษาวิจัยของสถาบันประวัติศาสตร์สังคมนานาชาติ ประเทศเนเธอร์แลนด์ ในปี 2555 เรื่องการดื่มนมที่มีผลต่อความสูงของเด็กวัยเรียนใน 7 ประเทศ พบว่า การดื่มนมวันละ 245 มล. ร่วมกับกินอาหารในปริมาณที่เหมาะสมกับวัย ทำให้ส่วนสูงเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 0.4 เซนติเมตร (ซม.) ต่อปี จากข้อมูลดังกล่าว จึงมีความสนใจที่จะดำเนินโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและแก้ไขภาวะขาดสารอาหารในเด็กปฐมวัย เขตเทศบาลนครยะลา เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะขาดสารอาหารในเด็กปฐมวัย ส่งผลให้เด็กได้เจริญเติบโตมีสุขภาพที่ดี และเป็นกำลังสำคัญสำหรับการพัฒนาประเทศต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดจำนวนเด็กปฐมวัยที่มีภาวะขาดสารอาหาร
  2. เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับสารอาหารที่เพียงพอและเหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย
  3. เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่1 จัดประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน เพื่อชี้แจงการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ ครูพี่เลี้ยงผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่มีภาวะขาดสารอาหาร ผู้ที่สนใจ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน จำนวน 1 วัน
  3. กิจกรรมที่ 3 ติดตามการเจริญเติบโต โดยชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กหลังการอบรมเดือนละ 1 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กก่อนวัยเรียน (3-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงภาวะทุพโภชนาการได้รับการแก้ไขมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์     2 ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเด็กปฐมวัยที่มีภาวะขาดสารอาหาร
ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยมีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับสารอาหารที่เพียงพอและเหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย
ตัวชี้วัด : 1. เด็กปฐมวัยร้อยละ 100 รับประทานอาหารครบ 3 มื้อ/ วัน 2. เด็กปฐมวัยร้อยละ 100 ดื่มนมอย่างน้อย 2 กล่อง/วัน 3. เด็กปฐมวัยร้อยละ 100 ทานไข่อย่างน้อย 1 ฟอง/ วัน
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยในระดับดี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเด็กปฐมวัยที่มีภาวะขาดสารอาหาร (2) เพื่อให้เด็กปฐมวัยได้รับสารอาหารที่เพียงพอและเหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย (3) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่1 จัดประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 20 คน เพื่อชี้แจงการจัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ ครูพี่เลี้ยงผู้ปกครองของเด็กปฐมวัยที่มีภาวะขาดสารอาหาร ผู้ที่สนใจ และเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง จำนวน 50 คน จำนวน 1 วัน (3) กิจกรรมที่ 3 ติดตามการเจริญเติบโต โดยชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงเด็กหลังการอบรมเดือนละ 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อส่งเสริมและแก้ไขภาวะขาดสารอาหารในเด็กปฐมวัย เขตเทศบาลนครยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62 – L7452 – 2 – 2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมยุรี ยีปาโล๊ะ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรสาขาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด