กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการบูรณาการแรงงานนอกระบบ ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางหนูอั้น ไข่ทอง

ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการแรงงานนอกระบบ

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-02-25 เลขที่ข้อตกลง 24/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบูรณาการแรงงานนอกระบบ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการแรงงานนอกระบบ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบูรณาการแรงงานนอกระบบ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2563-L3351-02-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 พฤษภาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,040.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการบริการด้านอาชีวอนามัยแก่แรงงานนอกระบบ หรือแรงงานในชุมชน จำเป็นที่จะต้องเข้าใจวิถีชีวิตและระบบการทำงานของกลุ่มเป้าหมายมีการเปลี่ยนแปลงตามสภาพเศรษฐกิจและการแข่งขันด้านการผลิตและการค้าจากภายนอก ส่งผลกระทบต่อความมั่นคงในวิถีอาชีพแรงงานนอกระบบหรือแรงงานในชุมชนทั้งการเอารัดเอาเปรียบ การต่อรอง การต่อต้านการจ้างงาน รวมทั้งปัญหาสุขภาพและสังคมที่เกิดจากสภาพการทำงาน สิ่งแวดล้อมและพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมของแรงงานนอกระบบ หรือแรงงานในชุมชนด้วย แม้ว่าแรงงานจะมีการดูแลสุขภาพหรือการพึ่งตนเองทางสุขภาพได้บ้างแต่ยังขาดความเหมาะสมและต่อเนื่อง ส่วนการมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสังคมแก่แรงงานพบว่าครอบครัว เครือข่ายแรงงาน และชุมชนมีบทบาทที่สำคัญที่สุด ส่วนเครือข่ายอื่นๆ ทั้งองค์กรท้องถิ่น หน่วยงานราชการและนายจ้าง ยังมีบทบาทหรือมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพชีวิตแก่แรงงานนอกระบบหรือแรงงานในชุมชนน้อยมาก โครงการนี้ดำเนินการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานในชุมชนด้วยด้วยการสร้างกระบวนการรวมกลุ่มหรือเครือข่ายแรงงาน รวมทั้งการเตรียมความพร้อมขององค์กรท้องถิ่น ชุมชน หรือหน่วยงานต่างๆ เพื่อให้มีทักษะการจัดการด้านอาชีพ สุขภาพและสวัสดิการตามสภาพปัญหาและความจำเป็นพื้นฐานที่เหมาะสมแก่แรงงานในแต่ละพื้นที่ของตำบลโคกชะงายอำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. จัดตั้งชมรมอาสาอาชีวอนามัย
  2. สมาชิกชมรมอาสาสมัครอาชีวอนามัยได้รับการพัฒนาศักยภาพ
  3. จัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ(แบบสอบถามภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน)
  4. แรงงานกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมพัฒนาศักยภาพ อสอช.
  2. สำรวจแรงงานนอกระบบตามแบบสอบถามภาวะสุขภาพฯ
  3. ตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสอช.ได้รับการอบรมพัฒนาศักยภาพเพื่อเป็นแกนนำเพื่อดูแลสุขภาวะของแรงงานนอกระบบ
  2. มีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบตำบลโคกชะงาน
  3. แรงงานนอกระบบได้รับการตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือดเพื่อวางแผนในการดูแลสุขภาวะต่อไป

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. สำรวจแรงงานนอกระบบตามแบบสอบถามภาวะสุขภาพฯ

วันที่ 22 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

-สัมภาษณ์ภาวะสุขภาพตามแบบสสัมภาษณ์ -บันทึกข้อมูลในโปรมฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย  จำนวน  200  ราย

สามารถดำเนินการได้  จำนวน 191  ราย

 

0 0

2. ตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร

วันที่ 22 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมาย  จำนวน  214  ราย

 

0 0

3. อบรมพัฒนาศักยภาพ อสอช.

วันที่ 31 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมได้  เนื่องจากสถานการณ์ โควิด - 19

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่บรรลุวัตถุประสงค์โครงการ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชมรมอาสาอาชีวอนามัยตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง ได้จัดทำโครงการ        บูรณาการแรงงานนอกระบบ เพื่อจัดตั้งชมรมอาสาอาชีวอนามัย อบรมพัฒนาศักยภาพของอาสาอาชีวอนามัยและมีฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบในกลุ่มเสี่ยงตรวจเลือดเกษตรกร
จากการดำเนินโครงการมีสมาชิกเข้าร่วมเป็นสมาชิกชมรมอาสาอาชีวอนามัย จำนวน 36 คน        แต่ไม่สามารถอบรมเพิ่มศักยภาพได้ เนื่องจากอยู่ในสถานการณ์โรคระบาดโควิด – 19 สมาชิกได้รับการอบรมในการเก็บข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์และบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ        จากเป้าหมายการดำเนินโครงการจำนวน 200 ราย สามารถดำเนินการสัมภาษณ์เก็บข้อมูล      จำนวน 191 ราย คิดเป็นร้อยละ 95.5 เพศชาย จำนวน 57 ราย เพศหญิง จำนวน 133 ราย        มีความรอบรู้ในการป้องกันตาเองให้ปลอดภัยในการทำงาน 0.77 (ความรอบรู้เฉลี่ยMAX =3) กลุ่มเป้าหมายมีปัญหาด้านกายภาพ อุบัติเหตุและสุขภาพจิต ตามลำดับ ซึ่งสามารถเป็นฐานข้อมูลเพื่อที่จะดำเนินการแก้ปัญหาในกลุ่มเป้าหมายได้ตรงกับความต้องการต่อไป

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 จัดตั้งชมรมอาสาอาชีวอนามัย
ตัวชี้วัด : มีชมรมอาชีวอนามัย
2.00 1.00 1.00

 

2 สมาชิกชมรมอาสาสมัครอาชีวอนามัยได้รับการพัฒนาศักยภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของ อสอช. ได้รับการพัฒนาศักยภาพ
2.00 36.00 0.00

ติดสถานการณโควิด - 19

3 จัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ(แบบสอบถามภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน)
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเสียงจากการทำงานได้สำรวจสุขภาพ( จำนวน 200 ราย)
2.00 200.00 191.00

 

4 แรงงานกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงร้อยละ 90 ได้รับการตรวจคัดกรอง
2.00 180.00 214.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200 191
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200 191
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดตั้งชมรมอาสาอาชีวอนามัย (2) สมาชิกชมรมอาสาสมัครอาชีวอนามัยได้รับการพัฒนาศักยภาพ (3) จัดทำฐานข้อมูลแรงงานนอกระบบ(แบบสอบถามภาวะสุขภาพตามความเสี่ยงจากการทำงาน) (4) แรงงานกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมพัฒนาศักยภาพ อสอช. (2) สำรวจแรงงานนอกระบบตามแบบสอบถามภาวะสุขภาพฯ (3) ตรวจคัดกรองสารเคมีในเลือดเกษตรกร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบูรณาการแรงงานนอกระบบ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2563-L3351-02-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางหนูอั้น ไข่ทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด