โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต ”
ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางรื่นฤดี ราชพงศ์ , นางอรอุมา สุกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส
กุมภาพันธ์ 2563
ชื่อโครงการ โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต
ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8014-2-4 เลขที่ข้อตกลง 12/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8014-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โยคะเป็นศาสตร์หนึ่งที่มุ่งพัฒนามนุษย์ในทุกๆ มิติ อย่างองค์รวมโดยมุ่งหวังที่จะให้มนุษย์ เข้าสู่ความสมดุลของร่างกาย ความสงบจิต ผ่อนคลายความเครียด อย่างนิ่มนวล ช้า ๆ จึงเหมาะกับคนทุกวัย แม้แต่ผู้ป่วยก็สามารถปฏิบัติได้และอีกทั้งยังสามารถปฏิบัติได้ทุกสถานที่ การปฏิบัติโยคะอาสนะ จินตลีลาและใช้เวทเทรนนิง คือการฝึกจิตให้สงบนิ่ง ฝึกหายใจให้สม่ำเสมอถูกต้องทำให้ระบบต่าง ๆ ในร่างกายก็จะมีการเปลี่ยนแปลงเลือดลมหมุนเวียนอย่างเป็นระบบ สมองปลอดโปร่ง จิตใจแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ในยุคปัจจุบัน นอกจากการทำโยคะอาสนะและใช้เวทเทรนนิง โยคะยังสามารถนำวัสดุต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาช่วยในการยืดเหยียดร่างกายให้กล้ามเนื้อแข็งแรง ช่วยพยุงร่างกายให้สามารถเคลื่อนไหวได้ทุกทวงท่าอย่างแข็งแรง ทำให้ลดความเสี่ยงต่อการเป็นหกล้มจากการเคลื่อนไหว ช่วยในการจัดระบบเส้นเอ้นในร่างกายให้มีความยืดหยุ่นได้ดี เลือดลมเหมุนเวียนได้ปกติ ในระบบทำให้ร่างกายและจิตใจเข้าสู่ภาวะสมดุล ดังนั้น กลุ่มโยคะเพื่อสุขภาพ เทศบาลตำบลตันหยงมัส จึงได้จัดทำโครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต เพื่อสุขภาพให้กับผู้ที่สนใจรักสุขภาพ โดยการทำโยคะอย่างถูกวิธี อีกทั้งสามารถดัดแปลงท่าโยคะผสมกับการออกกำลังกายรูปแบบที่สอดคล้องและคล้ายคลึงกัน และสามารถนำมาประสมประสานกันได้อย่างงดงาม และมีประโยชน์ต่อร่างกายในทุก ๆ กิจกรรม
ในการนี้ ชมรมโยคะเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลตันหยงมัส ได้เห็นถึงประโยชน์ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับประชาชนทั่วไปทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับด้วยการนำศาสตร์ของการฝึกโยคะ ซึ่งมีรูปแบบที่หลากหลาย มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ จึงจัดการอบรมด้านวิชาการและฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนำความรู้ที่ได้รับปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างสุขภาพของคนทุกวัยให้แข็งแรง ปรับความสมดุลของร่างกายและจิตใจ
- เพื่อให้กล้ามเนื้อกระชับและได้สัดส่วน เป็นการช่วยพยุงร่างกายในการเคลื่อนไหว
- เพื่อลดปัญหาผู้มีสมาธิสั้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เพิ่มการไหลเวียนของเลือด ปรับระดับความดันเลือดให้เป็นปกติ บำบัดโรคที่เกี่ยวกับเลือดไม่ดี โรคภูมิแพ้ ผิวพรรณที่ไม่ผ่องใส ทำให้สมองปลอดโปร่ง ไม่มึนศีรษะง่าย ช่วยให้ระบบร่างกายยืดเหยียดได้อย่างเป็นระบบ กระตุ้นสมองให้มีความจำดีขึ้นและช่วยแก้ปัญหาให้กับผู้ที่ป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างสุขภาพของคนทุกวัยให้แข็งแรง ปรับความสมดุลของร่างกายและจิตใจ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพแข็งแรง(สังเกตโดยการสอบถามสุขภาพของผู้เข้ารับการฝึกอบรมก่อน-หลังการฝึกอบรม)
0.00
2
เพื่อให้กล้ามเนื้อกระชับและได้สัดส่วน เป็นการช่วยพยุงร่างกายในการเคลื่อนไหว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมกล้ามเนื้อกระชับขึ้น
(สังเกตด้วยสายตาและสอบถามก่อนและหลังการฝึกอบรม)
0.00
3
เพื่อลดปัญหาผู้มีสมาธิสั้น
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ที่มีสมาธิสั้นสามารถทำกิจกรรมร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข และสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ครบทุกขั้นตอน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างสุขภาพของคนทุกวัยให้แข็งแรง ปรับความสมดุลของร่างกายและจิตใจ (2) เพื่อให้กล้ามเนื้อกระชับและได้สัดส่วน เป็นการช่วยพยุงร่างกายในการเคลื่อนไหว (3) เพื่อลดปัญหาผู้มีสมาธิสั้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8014-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรื่นฤดี ราชพงศ์ , นางอรอุมา สุกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต ”
ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางรื่นฤดี ราชพงศ์ , นางอรอุมา สุกุล
กุมภาพันธ์ 2563
ที่อยู่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8014-2-4 เลขที่ข้อตกลง 12/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 29 กุมภาพันธ์ 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8014-2-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 29 กุมภาพันธ์ 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลตันหยงมัส เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โยคะเป็นศาสตร์หนึ่งที่มุ่งพัฒนามนุษย์ในทุกๆ มิติ อย่างองค์รวมโดยมุ่งหวังที่จะให้มนุษย์ เข้าสู่ความสมดุลของร่างกาย ความสงบจิต ผ่อนคลายความเครียด อย่างนิ่มนวล ช้า ๆ จึงเหมาะกับคนทุกวัย แม้แต่ผู้ป่วยก็สามารถปฏิบัติได้และอีกทั้งยังสามารถปฏิบัติได้ทุกสถานที่ การปฏิบัติโยคะอาสนะ จินตลีลาและใช้เวทเทรนนิง คือการฝึกจิตให้สงบนิ่ง ฝึกหายใจให้สม่ำเสมอถูกต้องทำให้ระบบต่าง ๆ ในร่างกายก็จะมีการเปลี่ยนแปลงเลือดลมหมุนเวียนอย่างเป็นระบบ สมองปลอดโปร่ง จิตใจแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง เป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ในยุคปัจจุบัน นอกจากการทำโยคะอาสนะและใช้เวทเทรนนิง โยคะยังสามารถนำวัสดุต่าง ๆ ที่เหมาะสมมาช่วยในการยืดเหยียดร่างกายให้กล้ามเนื้อแข็งแรง ช่วยพยุงร่างกายให้สามารถเคลื่อนไหวได้ทุกทวงท่าอย่างแข็งแรง ทำให้ลดความเสี่ยงต่อการเป็นหกล้มจากการเคลื่อนไหว ช่วยในการจัดระบบเส้นเอ้นในร่างกายให้มีความยืดหยุ่นได้ดี เลือดลมเหมุนเวียนได้ปกติ ในระบบทำให้ร่างกายและจิตใจเข้าสู่ภาวะสมดุล ดังนั้น กลุ่มโยคะเพื่อสุขภาพ เทศบาลตำบลตันหยงมัส จึงได้จัดทำโครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต เพื่อสุขภาพให้กับผู้ที่สนใจรักสุขภาพ โดยการทำโยคะอย่างถูกวิธี อีกทั้งสามารถดัดแปลงท่าโยคะผสมกับการออกกำลังกายรูปแบบที่สอดคล้องและคล้ายคลึงกัน และสามารถนำมาประสมประสานกันได้อย่างงดงาม และมีประโยชน์ต่อร่างกายในทุก ๆ กิจกรรม
ในการนี้ ชมรมโยคะเพื่อสุขภาพเทศบาลตำบลตันหยงมัส ได้เห็นถึงประโยชน์ความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพสำหรับประชาชนทั่วไปทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับด้วยการนำศาสตร์ของการฝึกโยคะ ซึ่งมีรูปแบบที่หลากหลาย มาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพ จึงจัดการอบรมด้านวิชาการและฝึกปฏิบัติจริง เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมนำความรู้ที่ได้รับปฏิบัติด้วยตนเองได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่องต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างสุขภาพของคนทุกวัยให้แข็งแรง ปรับความสมดุลของร่างกายและจิตใจ
- เพื่อให้กล้ามเนื้อกระชับและได้สัดส่วน เป็นการช่วยพยุงร่างกายในการเคลื่อนไหว
- เพื่อลดปัญหาผู้มีสมาธิสั้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เพิ่มการไหลเวียนของเลือด ปรับระดับความดันเลือดให้เป็นปกติ บำบัดโรคที่เกี่ยวกับเลือดไม่ดี โรคภูมิแพ้ ผิวพรรณที่ไม่ผ่องใส ทำให้สมองปลอดโปร่ง ไม่มึนศีรษะง่าย ช่วยให้ระบบร่างกายยืดเหยียดได้อย่างเป็นระบบ กระตุ้นสมองให้มีความจำดีขึ้นและช่วยแก้ปัญหาให้กับผู้ที่ป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างสุขภาพของคนทุกวัยให้แข็งแรง ปรับความสมดุลของร่างกายและจิตใจ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพแข็งแรง(สังเกตโดยการสอบถามสุขภาพของผู้เข้ารับการฝึกอบรมก่อน-หลังการฝึกอบรม) |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กล้ามเนื้อกระชับและได้สัดส่วน เป็นการช่วยพยุงร่างกายในการเคลื่อนไหว ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้เข้ารับการฝึกอบรมกล้ามเนื้อกระชับขึ้น (สังเกตด้วยสายตาและสอบถามก่อนและหลังการฝึกอบรม) |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อลดปัญหาผู้มีสมาธิสั้น ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของผู้ที่มีสมาธิสั้นสามารถทำกิจกรรมร่วมกับคนอื่นอย่างมีความสุข และสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ครบทุกขั้นตอน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างสุขภาพของคนทุกวัยให้แข็งแรง ปรับความสมดุลของร่างกายและจิตใจ (2) เพื่อให้กล้ามเนื้อกระชับและได้สัดส่วน เป็นการช่วยพยุงร่างกายในการเคลื่อนไหว (3) เพื่อลดปัญหาผู้มีสมาธิสั้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการโยคะ เพื่อสุขภาพสร้างสมดุลชีวิต จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L8014-2-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรื่นฤดี ราชพงศ์ , นางอรอุมา สุกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......