กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห


“ โครงการเฝ้าระวังและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนหลังบิ๊กซี ”

ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
คณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขเทศบาลเมืองคลองแห ชุมชนหลังบิ๊กซี โดย นางพรทิพย์ พละสินธุ์ ประธานฯ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนหลังบิ๊กซี

ที่อยู่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63- L7255 – 02 -12 เลขที่ข้อตกลง 17/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนหลังบิ๊กซี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนหลังบิ๊กซี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนหลังบิ๊กซี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองแห อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63- L7255 – 02 -12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 28,050.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองคลองแห เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยง ที่มาจากพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ เช่น โรคจอประสาทตาเสื่อม โรคไตวายเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือด แผลเรื้อรัง การถูกตัดขา ตัดนิ้ว เป็นต้น ความเจ็บป่วยเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยตลอดจนค่าใช้จ่าย ด้านสาธารณสุขโดยรวม ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อดังกล่าวเพื่อลดการเกิดโรคเรื้อรังได้ จากการตรวจคัดกรองปี 2562 ได้ลงคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง โดยเจ้าหน้าที่และคณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขในเขตเทศบาลเมืองคลองแหกรรมการชุมชน ทั้ง 40 ชุมชน มีผู้เข้าร่วมโครงการทั้งหมด จำนวน 3,800 คน มีผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน จำนวน 3,500 คน พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 7.14 ของผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด และพบผู้รับบริการกลุ่มเสี่ยง จำนวน 890 คน คิดเป็นร้อยละ ๒5.42 ของผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด มีผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 3,600คน พบผู้ป่วยรายใหม่ จำนวน55 คน คิดเป็นร้อยละ 15.27. ของผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงทั้งหมด และพบผู้รับบริการ กลุ่มเสี่ยง จำนวน 1,040 คน คิดเป็นร้อยละ 28.88 ของผู้รับบริการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด พบว่า ชุมชนหลังบิ๊กซี มีกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 14 คนมีกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จำนวน…..13....คน ดัชนีมวลกายเกิน ..14..คนรอบเอวเกิน .. 18... คน คณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขเทศบาลเมืองคลองแห ชุมชนหลังบิ๊กซีเล็งเห็นและตระหนัก ถึงความสำคัญในการป้องกันและลดความเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในกลุ่มวัยทำงาน จึงจัดทำโครงการเฝ้าระวังและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนหลังบิ๊กซีขึ้นเพื่อเป็นการส่งเสริม กระตุ้นให้กลุ่มเป้าหมายวัยทำงาน ตระหนัก รับรู้ถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของตนเองมากขึ้น เป็นบุคคลที่มีสุขภาพดีและคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  4. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมวางแผนของคณะทำงานชุมชนหลังบิ๊กซี
  2. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงพร้อมทั้งชี้แจงผลการตรวจติดตามสุขภาพพร้อมวางแผนในการให้การดูแลในเดือนต่อไป
  3. กิจกรรมเยี่ยมบ้านประเมินภาวะสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง
  4. กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงพร้อมทั้งชี้แจงผลการตรวจติดตามสุขภาพพร้อมวางแผนในการให้การดูแลในเดือนต่อไป
  5. กิจกรรมเยี่ยมบ้านประเมินภาวะสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง
  6. ประชุมวางแผนของคณะทำงานชุมชนหลังบิ๊กซี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 55
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
คณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขเทศบาลเมืองคลองแห 5
บุคลากรเทศบาลเมืองคลองแห 5

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. และลดจำนวนผู้ป่วยป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ร้อยละ 50
  2. กลุ่มเสี่ยงที่ได้รับเฝ้าระวังและติดตามภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในชุมชนหลังบิ๊กซี ได้รับการติดตามดูแลตามเกณฑ์ทางด้านสาธารณสุข

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
35.00 20.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
30.00 20.00

 

3 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
25.00 30.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ถูกต้องร้อยละ 80
55.00 44.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 130
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 65
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 55
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขเทศบาลเมืองคลองแห 5
บุคลากรเทศบาลเมืองคลองแห 5

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง (3) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่ (4) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติตนเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนของคณะทำงานชุมชนหลังบิ๊กซี (2) กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงพร้อมทั้งชี้แจงผลการตรวจติดตามสุขภาพพร้อมวางแผนในการให้การดูแลในเดือนต่อไป (3) กิจกรรมเยี่ยมบ้านประเมินภาวะสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง (4) กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยงพร้อมทั้งชี้แจงผลการตรวจติดตามสุขภาพพร้อมวางแผนในการให้การดูแลในเดือนต่อไป (5) กิจกรรมเยี่ยมบ้านประเมินภาวะสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง (6) ประชุมวางแผนของคณะทำงานชุมชนหลังบิ๊กซี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังและติดตามผู้มีภาวะเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงในชุมชนหลังบิ๊กซี จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63- L7255 – 02 -12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( คณะทำงานเครือข่ายสาธารณสุขเทศบาลเมืองคลองแห ชุมชนหลังบิ๊กซี โดย นางพรทิพย์ พละสินธุ์ ประธานฯ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด