กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู


“ คนทุ่งพัฒนาปราศจากโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนัสสิมา ดันงุ่น

ชื่อโครงการ คนทุ่งพัฒนาปราศจากโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5313-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"คนทุ่งพัฒนาปราศจากโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คนทุ่งพัฒนาปราศจากโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " คนทุ่งพัฒนาปราศจากโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลละงู อำเภอละงู จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 63-L5313-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,960.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ละงู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากรายงานสรุปสถานการณ์มลพิษของประเทศไทย ปี 2561 (กรมควบคุมมลพิษ, ๒๕๖๒) มีปริมาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นประมาณ 27.8 ล้านตัน เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 มีปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.64 เนื่องจากการขยายตัวของชุมชนเมือง ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยในหลายพื้นที่เพิ่มมากขึ้น
จากการศึกษาบริบทของชุมชนของตำบลละงู พบว่ามีการเพิ่มของร้านค้า และตลาดนัดในทุกหมู่บ้าน ส่งผลให้เกิดปัญหาขยะในชุมชน และที่สำคัญไปกว่านั้น ปริมาณขยะที่เพิ่มเกิดขึ้นมีความสัมพันธ์กับสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน บ้านทุ่งพัฒนา หมู่ที่ 13 ตำบลละงู พบผู้ป่วยไข้เลือดออกในปี 2562 จำนวน 19 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 2204.18 ต่อแสนประชากร (เกณฑ์ < 50 ต่อแสน) สถานการณ์ป่วยเกินค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี (Median = 1.5) เมื่อพิจารณาปัจจัยสิ่งแวดล้อมทั่วพบว่ามีการกระจายของเศษขยะ แก้ว ถุงพลาสติก มีน้ำขังและลูกน้ำยุงลายตามบ้านเรือน และเส้นทางสาธารณะในหมู่บ้านและถนนสัญจรสายหลัก เมื่อพิจารณาตามปัจจัยบุคคลพบว่าประชาชนมีความรู้สามารถเข้าถึงข่าวสารสาธารณะและสุขภาพ แต่ยังขาดความตระหนัก และมีพฤติกรรมสุขวิทยาไม่ถูกต้อง เมื่อพิจารณาตามปัจจัยด้านเชื้อโรคการเกิดโรค พบว่า การเคลื่อนย้ายของประชากรไปยังพื้นที่ที่มีการป่วยส่งผลให้ติดต่อคนในครอบครัวอย่างต่อเนื่อง จากการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดโดยใช้งบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลละงู ปี 2562 ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขบ้านทุ่งพัฒนา ประสบความสำเร็จด้าน 1) การจัดการระบบรายงานค่าดัชนีลูกน้ำยุงลายผ่านระบบออนไลน์เพื่อควบคุมปริมาณยุงมีเชื้อ 2) การสร้างกระแสการมีส่วนร่วมในการเก็บขยะในรูปแบบ Big Cleaning Day 3) การบริหารจัดการวัสดุ เคมีภัณฑ์กำจัดยุง ความทันเวลาในการควบคุมโรค แต่ยังขาดความร่วมมือคนในชุมชน
จากความสำคัญดังกล่าว อสม. ม.13 บ้านทุ่งพัฒนาจึงจัดทำโครงการในปี 2563 เพื่อสร้างความร่วมมือในการจัดการโรคไข้เลือดออกและสิ่งแวดล้อมในชุมชนให้เป็นรูปธรรม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติในการคัดแยกขยะและป้องกันโรคไข้เลือดออก
  2. เพื่อลดปริมาณขยะ แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในหมู่บ้าน
  3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน/เครือข่าย
  2. อบรมให้ความรู้การจัดการขยะ โรคไข้เลือดออก
  3. กิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จำนวนผู้ป่วย ปี 2563 ลดลง
    1. มีระบบรายงานค่า HI CI และระบบรายงานการคัดแยกขยะออนไลน์
    2. ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและมีพฤติกรรมสุขวิทยาที่ถูกต้องในระดับครัวเรือน เด็ก นักเรียนและเยาวชนเกิดจิตสำนึกนิสัยรักสะอาด และปริมาณขยะในชุมชนลดลง
    3. ความสามัคคีในชุมชนเอื้อต่อการพัฒนาระบบสุขภาพด้านอื่นๆ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน/เครือข่าย

วันที่ 15 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน/เครือข่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้แบ่งหน้าที่ๆชัดเจน

 

30 0

2. อบรมให้ความรู้การจัดการขยะ โรคไข้เลือดออก

วันที่ 23 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้การจัดการขยะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ร้อยละ 80

 

50 0

3. กิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

วันที่ 28 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

พัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ไม่มีน้ำขัง/ขยะที่หมักหมม

 

30 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติในการคัดแยกขยะและป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้หลังการอบรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐
0.00

 

2 เพื่อลดปริมาณขยะ แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : -จัดกิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน ปีละ ๔ ครั้ง - ระบบรายงานการคัดแยกขยะและสำรวจลูกน้ำยุงลายประจำเดือน
0.00

 

3 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน
ตัวชี้วัด : อัตราป่วยน้อยกว่า ปี ๒๕๖๒
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ความรู้และแนวทางปฏิบัติในการคัดแยกขยะและป้องกันโรคไข้เลือดออก (2) เพื่อลดปริมาณขยะ แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในหมู่บ้าน (3) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน/เครือข่าย (2) อบรมให้ความรู้การจัดการขยะ โรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมพัฒนาสิ่งแวดล้อมในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คนทุ่งพัฒนาปราศจากโรคไข้เลือดออก ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 63-L5313-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนัสสิมา ดันงุ่น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด