กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อน้ำร้อน


“ โครงการค่ายเด็กและเยาวชนต่อต้านยาเสพติด ”

ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อน้ำร้อน

ชื่อโครงการ โครงการค่ายเด็กและเยาวชนต่อต้านยาเสพติด

ที่อยู่ ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63-L1467-02-02 เลขที่ข้อตกลง 05/63

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการค่ายเด็กและเยาวชนต่อต้านยาเสพติด จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อน้ำร้อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการค่ายเด็กและเยาวชนต่อต้านยาเสพติด



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการค่ายเด็กและเยาวชนต่อต้านยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อน้ำร้อน อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1467-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 150,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อน้ำร้อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2  พ.ศ. 2560 โดยมีสาระสำคัญประกอบด้วยยุทธศาสตร์ 5 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพและสร้างภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชน ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความเข้มแข็งของกลไกสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาเด็กและเยาวชนอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน ยุทธศาสตร์การส่งเสริมบทบาทและระดมความร่วมมือของทุกภาคส่วนในการพัฒนาเด็กและเยาวชน และยุทธศาสตร์การพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการในการพัฒนาเด็กและเยาวชน โดยมุ่งเน้นให้เกิดการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ  ให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน รวมทั้งการกำหนดบทบาทขององค์กรเอกชน          และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาเด็กและเยาวชน เพื่อให้เด็กและเยาวชนเติบโตเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหายาเสพติดมาช้านาน โดยสภาพปัญหาได้เปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์ของโลกในยุคปัจจุบัน เด็กและเยาวชนเริ่มใช้ยาเสพติดมีอายุน้อยลง จากระบบรายงานของศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามกรมสุขภาพจิต พบว่า ผู้เข้ารับบำบัดรักษาเป็นเยาวชนอายุระหว่าง 15-24 ปี มีสัดส่วนมากถึงร้อยละ 50 (ศูนย์อำนวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด กรมสุขภาพจิต, 2559) ซึ่งถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสำคัญที่ต้องมีการเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดเนื่องจากมีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ซึ่งควรได้รับการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันต่อยาเสพติด และปัจจัยยั่วยุต่างๆ รวมทั้งการเสริมสร้างทักษะชีวิตเพื่อป้องกันการกลับไปใช้ซ้ำ ซึ่งเมื่อจำแนกชนิดยาเสพติดที่มี  ผู้เข้ารับการบำบัดรักษามากที่สุด คือ ยาบ้า ร้อยละ 75.20 รองลงมา คือ กัญชา ร้อยละ 6.83 และกระท่อม      ร้อยละ 4.17 ด้านพฤติกรรมการใช้ยาเสพติดที่น่าเป็นกังวล คือ การใช้ยาเสพติดมากกว่า 1 ชนิดร่วมกันมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ซึ่งส่งผลให้การบำบัดรักษามีความยุ่งยาก ซับซ้อนมากขึ้น นอกจากนี้ปัจจุบันยังพบว่าเด็กและเยาวชนมีการนำสารต่างๆ ที่หาได้ง่ายมาผสมกันเพื่อให้ออกฤทธิ์เหมือนสารเสพติด ซึ่งเด็กและเยาวชนมีการทดลองดื่มสารเหล่านี้เนื่องจากมองว่าเกิดจากส่วนผสมของสารที่ไม่เป็นอันตราย โดยที่ไม่ได้คำนึงว่ามีฤทธิ์เสพติด ปัญหาสารเสพติดเป็นปัญหาที่เป็นภัยร้ายแรงต่อสุขภาพกาย และสุขภาพจิต ส่งผลต่อพัฒนาการทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสมอง  โดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว กระทบต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศเยาวชน      ที่มีอายุต่ำกว่า 25 ปี เป็นกลุ่มประชากรที่มีขนาดใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 32.44 ของประชากรทั้งหมดและเป็นวัย    ที่ดำเนินชีวิตในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ ใฝ่หาความรู้ อยากเห็น อยากลองของใหม่ รักพวกพ้อง รักเพื่อน เชื่อเพื่อนและมองหาแบบอย่างเพื่อดำเนินรอยตามแบบ ทัศนคติที่ผิดๆเกี่ยวกับการใช้สารเสพติดในวัยรุ่น เช่น การเสพไอซ์      ทำให้ผอม ผิวขาว การเสพยาบ้าทำให้เพิ่มความตื่นเต้นในการมีเพศสัมพันธ์ อ่านหนังสือได้นานขึ้น ทำให้มีกำลังวังชา ทำให้มีจิตใจแจ่มใส ทำให้มีสุขภาพดี ทำให้สติปัญญาดี สามารถรักษาโรคบางอย่างได้ จากทัศนคติดังกล่าวทำให้เกิดความรู้สึกอยากลองใช้ จนมีการติดสารเสพติดนั้นในที่สุด
องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อน้ำร้อน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาการแพร่ระบาดของ    ยาเสพติดในกลุ่มเด็กและเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการ "โครงการค่ายเด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด" ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพรบ.ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
  2. เพื่อให้เด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติดและอบายมุข
  3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
  4. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับเด็กและเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข
  5. เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.เด็กและเยาวชนได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2.เด็กและเยาวชนได้รับความรู้เกี่ยวกับ พรบ.ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 3.เด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติดและอบายมุข 4.เด็กและเยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด 5.เด็กและเยาวชนรู้จักการสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับเด็กและเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข 6.เกิดการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพรบ.ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพรบ.ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด
    0.00

     

    2 เพื่อให้เด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติดและอบายมุข
    ตัวชี้วัด : อัตราการติดยาเสพติดและอบายมุขลดลง
    0.00

     

    3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชนได้รับรู้รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด
    0.00

     

    4 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับเด็กและเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข
    ตัวชี้วัด : อัตราของเด็กและเยาวชนที่ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข
    0.00

     

    5 เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม
    ตัวชี้วัด : ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาลดลง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฝึกอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับพรบ.ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด (2) เพื่อให้เด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติดและอบายมุข (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้ รับทราบถึงปัญหาและพิษภัยของยาเสพติด (4) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายจิตใจให้กับเด็กและเยาวชน ไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข (5) เพื่อสนับสนุนนโยบายของรัฐบาลและร่วมแก้ปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการค่ายเด็กและเยาวชนต่อต้านยาเสพติด จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 63-L1467-02-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( องค์การบริหารส่วนตำบลบ่อน้ำร้อน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด