กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา


“ โครงการอบรมแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน ”

ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ดร.อาฮามัดกาแม แวมูซอ

ชื่อโครงการ โครงการอบรมแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน

ที่อยู่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-02-02 เลขที่ข้อตกลง 02/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มิถุนายน 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบานา อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3013-02-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มิถุนายน 2563 - 30 มิถุนายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,448.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.บานา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับมนุษย์ทุกคนและต้องบริโภคกันอยู่ทุกวันจะแน่ใจได้อย่างไรว่าอาหารที่เราบริโภคอยู่ทุกวันนี้มีความสะอาดปลอดภัยหากผู้บริโภคปรุงอาหารด้วยตนเองก็มั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยในระดับหนึ่งแต่คนส่วนใหญ่นิยมซื้ออาหารนอกบ้านมารับประทานทำให้ไม่สามารถมั่นใจได้ว่าอาหารมีความปลอดภัยเพียงพอทำให้เกิดความเสี่ยงมากกว่า ในปัจจุบันมีพ่อค้าแม่ค้าที่เอาเปรียบผู้บริโภคนำวัตถุดิบที่มีคุณภาพต่ำมาประกอบอาหารหรือมีการเติมสารห้ามใช้ในอาหารบางอย่างลงไป เช่นบอแรกซ์โซเดียมไฮโดรซัลไฟต์เป็นต้นรวมทั้งมีการปรุงอาหารอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่สะอาดเหมาะสมซึ่งก่อให้เกิดอันตรายแก่ผู้บริโภคได้ดังนั้นหากผู้บริโภคขาดความรู้ความเข้าใจอย่างเพียงพอในเรื่องความปลอดภัยของอาหารก็จะยิ่งทำให้ไม่สามารถเลือกซื้อหรือเก้บรักษาอาหารได้ถูกต้องและไม่สามารถดูแลปกป้องตนเองจากพิษภัยของอาหารที่ไม่ปลอดภัยได้ ดังนั้นการให้ความรู้เบื่องต้นเรื่องความปลอดภัยของอาหารจึงควรทำตั้งแต่เนิ่นๆที่สุดคือในวัยเด้กที่สามารถเรียนรู้ได้รวดเร็วเพื่อที่จะปลูกฝังให้เป็นพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ตลอดไปไม่ว่าเด็กจะเติบโตขึ้นเป็นเพียงผู้บริโภคหรือเป็นผู้ประกอบการผลิตอาหารเองด้วยในอนาคตก็ตามการตระหนักในความสำคัญของความปลอดภัยของอาหารความสะอาดรู้จักดูแลหยิบจับเก็บรักษาอาหารอย่างถูกต้องการรู้จักปกป้องตนเองรู้จักการเลือกสังเกตหรือทดสอบและรู้จักปฏิเสธอาหารอาหารที่ไม่ปลอดภัยจึงเป็นเรื่องที่ต้องเรียนรู้และฝึกฝนตั้งแต่เด็กเพื่อให้สามารถนำไปใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำวันได้ตลอดไปอย่างยั่งยืน โรงเรียนศาสนูปถัมภ์ได้เล็งเห็นความสำคัญของเด้กในวัยเรียนซึ่งมีความกระตือรือร้นและมีศักยภาพในตนเองสามารถชี้นำเพื่อนและผู้ปกครองให้สนับสนุนการดำเนินงานได้เป็นอย่างดีจึงได้จัดตั้งให้มีชมรมอย.น้อยในโรงเรียนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดตั้งชมรม อย.น้อยในโรงเรียน
  2. เพื่อให้สมาชิกชมรม อย.น้อยศาสนูถัมภ์ตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารเจือปนประเภทสารบอแรกซ์ สารฟอกขาวและจุลินทรีย์ต่างๆได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมแกนนำอย.น้อยในโรงเรียน
  2. กิจกรรมการตรวจสอบคุ้มครองผู้บริโภคภายในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียนคูรผู้ปกครอง และชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ดีต่อการบริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัย

2.สมาชิกของชมรมมีความตระหนักในเรื่องอาหารปลอดภัยในโรงเรียนและในชุมชน

3.สมาชิกของชมรมสามารถตรวจวิเคราะห์อาหารอย่างน้อยในเรื่องสารบอแรกซ์สารฟอกขาวฟอร์มาลินได้

4.นักเรียนครูผู้ปกครองและบุคลากรอื่นๆในโรงเรียนและชุมชนมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวังความไม่ปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมแกนนำอย.น้อยในโรงเรียน

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

200 0

2. กิจกรรมการตรวจสอบคุ้มครองผู้บริโภคภายในโรงเรียน

วันที่ 30 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

บรรลุตามวัตถุประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บรรลุตามวัตถุประสงค์

 

200 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดตั้งชมรม อย.น้อยในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : โรงเรียนศาสนูถัมภ์มีแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน
0.00

 

2 เพื่อให้สมาชิกชมรม อย.น้อยศาสนูถัมภ์ตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารเจือปนประเภทสารบอแรกซ์ สารฟอกขาวและจุลินทรีย์ต่างๆได้
ตัวชี้วัด : แกนนำ อย.น้อยศาสนูถัมภ์ สามารถตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารเจือปนประเภทสารบอแรกซ์และจุลินทรีย์ต่างๆได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 200
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดตั้งชมรม อย.น้อยในโรงเรียน (2) เพื่อให้สมาชิกชมรม  อย.น้อยศาสนูถัมภ์ตรวจวิเคราะห์อาหารที่มีสารเจือปนประเภทสารบอแรกซ์  สารฟอกขาวและจุลินทรีย์ต่างๆได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมแกนนำอย.น้อยในโรงเรียน (2) กิจกรรมการตรวจสอบคุ้มครองผู้บริโภคภายในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมแกนนำ อย.น้อยในโรงเรียน จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3013-02-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ดร.อาฮามัดกาแม แวมูซอ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด