กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
จัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและผู้ป่วยติดเตียง19 ธันวาคม 2563
19
ธันวาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดทำขออนุมัติโครงการฯ
  2. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและมอบหมายหน้าที่
  3. สำรวจและกำหนดสถานที่ในการดำ เนินโครงการ
  4. นำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ
  5. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  6. จัดกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถาพต่อเนื่องโดยการใช้กายภาพอุปกรณ์ 6.1. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและผู้ป่วยติดเตียง สอนแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย 6.2. บุคคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดุแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบรอกชักมือ- เท้าหรือไม้กระดานที่จำเป็นสำหรับผู้ที่อยู่ในระยะี่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการพิจารณาโดยบุคคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย สอนและแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรถรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย
  7. คณะกรรมการการบริหารกองทุนฯโรงพยาบาลแว้ง และอสม.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

สมองและผู้ป่วยติดเตียง ๑. วัตถุประสงค์ ๑. เพื่อให้ประชาชนในเขตในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง ได้รู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมอง,หัวใจ และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา ๒. เพื่อให้ความรู้หลักการทำกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ๒. เป้าหมายของโครงการ ผู้ดูแล,อสม.,ผู้สูงอายุ และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จำนวน 50 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน ๓. สถานที่และวันเวลาดำเนินงาน ณ สนามกีฬาอบต.แว้ง ในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส วันที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๖๓ เวลา ๐๘.๐๐ น.-๑๔.๓๐ น. 4. กำหนดการดำเนินงานและกิจกรรมที่สำคัญ 08.30 - 08.45 น. ลงทะเบียน 09.00 - 10.30 น. ให้ความรู้เกี่ยวกับความเป็นมาโรคหลอดเลือดสมอง 10.30 - 12.00 น. ให้ความรู้หลักการทำกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารเที่ยง 13.00 - 14.30 น. จัดทำกายอุปกรณ์ฝึกปฏิบัติและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 5. ผลการดำเนินกิจกรรม จากการดำเนินกิจกรรมจัดประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและผู้ป่วยติดเตียง ให้ความรู้ถึงอาการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมอง และมารับการรักษาได้ทันเวลา ตามเกณฑ์มาตรฐานในการดูแลรักษา กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวโรคหลอดเลือดสมอง โดยก่อนการอบรมคะแนนความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอ อาการการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมอง เฉลี่ยร้อยละ 55.2 หลังการอบรมกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอ อาการการที่ผิดปกติของโรคหลอดเลือดสมอง คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 78.4 และโดยภาพรวมในการจัดโครงการกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการกิจกรรมในครั้งนี้โดยภาพรวม อยู่ในระดับ ดีมาก

กิจกรรมเยี่ยมติดตามผู้ที่อยู่ระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบรอกชักมือ- เท้าหรือไม้กระดาน13 สิงหาคม 2563
13
สิงหาคม 2563รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. จัดทำขออนุมัติโครงการฯ
  2. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและมอบหมายหน้าที่
  3. สำรวจและกำหนดสถานที่ในการดำ เนินโครงการ
  4. นำเสนอเพื่อขออนุมัติโครงการ
  5. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  6. จัดกิจกรรมฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถาพต่อเนื่องโดยการใช้กายภาพอุปกรณ์ 6.1. กิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำกายภาพบำบัดในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและผู้ป่วยติดเตียง สอนแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย 6.2. บุคคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดุแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบรอกชักมือ- เท้าหรือไม้กระดานที่จำเป็นสำหรับผู้ที่อยู่ในระยะี่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการพิจารณาโดยบุคคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย สอนและแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรถรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย
  7. คณะกรรมการการบริหารกองทุนฯโรงพยาบาลแว้ง และอสม.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

3.2 กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมเยี่ยมติดตามผู้ที่อยู่ระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบรอกชักมือ-เท้าหรือไม้กระดาน 1. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพอย่างต่อเนื่องสามารถใช้อุปกรณ์ทำกายบริหารด้วยตนเองได้ง่าย 2. เพื่อสร้างกล้ามเนื้อให้แข็งแรงและลดภาระต่อญาติหรือผู้ดูแล 2. เป้าหมายของโครงการ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะกลางที่มีอาการทางคลินิกผ่านพ้นภาวะวิกฤติและมีอาการคงที่(intermediate care) ในเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จำนวน 15 คน มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 15 คน 3. สถานที่และวันเวลาดำเนินงาน เขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส วันที่ 13 -14 สิงหาคม 2563 เวลา 08.30 –16.30 น. 4. กำหนดการดำเนินงานและกิจกรรมที่สำคัญ บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขลงไปประเมินสภาพของผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบรอกชักมือ-เท้าหรือไม้กระดานที่จำเป็นสำหรับผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการพิจารณาโดยบุคลากรทางการแพทย์เป็นเฉพาะราย สอนและแนะนำผู้ดูแลในครอบครัวเรื่องการดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ที่อยู่ในระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต่อเนื่องที่มีข้อจำกัดการเคลื่อนไหวร่างกายเวลา 08.30 –16.30 น. หมายเหตุรับประทานอาหารว่าง เวลา 10.30และ เวลา 14.30 น. 5. ผลการดำเนินกิจกรรม จากการดำเนินกิจกรรมเยี่ยมติดตามผู้ที่อยู่ระยะที่จำเป็นต้องได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และมอบรอกชักมือ-เท้าหรือไม้กระดาน กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการใช้กายอุปกรณ์รอกชักมือ-เท้าหรือไม้กระดาน โดยก่อนการให้ความรู้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ 48.2 หลังการให้ความรู้มกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการใช้การใช้กายอุปกรณ์รอกชักมือ-เท้าหรือไม้กระดาน คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 88.1 กลุ่มเป้าหมายได้รับการให้บริการให้คำปรึกษาและทำการรักษาทางกายภาพบำบัดร้อยละ 100