กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อช่วยในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารต่างๆ แก่คนหูหนวก
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับดำเนินชีวิตคนพิการ สามารถใช้ภาษาล่ามพื้นฐาน สื่อสารอย่างง่ายกับคนหูหนวกได้
0.00

 

2 เพื่อช่วยเหลือคนหูหนวกที่มีปัญหา ในการติดต่อขอรับบริการต่างๆ จากหน่วยงานของรัฐ และเอกชน
ตัวชี้วัด : คนหูหนวก สามารถเข้าถึงบริการสารธารณะต่างๆของรัฐ ได้อย่างสะดวกและทั่วถึง
0.00

 

3 เพื่อช่วยสื่อสารระหว่างคนหูหนวก กับคนหูปกติ หรือคนหูปกติกับคนหูหนวก ในสถานการณ์ต่างๆ และในการทำกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน
ตัวชี้วัด : คนหูหนวก มีโอกาสเข้าถึงสิทธิ ตามพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 มาตรา 20 ความว่า คนพิการมีสิทธิเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้จากสิ่งอำนวยความสะดวก อันเป็นสาธารณะ ตลอดจนสวัสดิการและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ “ข้อ 7 การเข้าถึงบริการล่ามภาษามือตามระเบียบที่คณะกรรมการกำหนด”ส่งผลในการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ดูแลผู้พิการ ผู้ประสานงานกับผู้พิการ 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อช่วยในการสื่อสารข้อมูลข่าวสารต่างๆ แก่คนหูหนวก (2) เพื่อช่วยเหลือคนหูหนวกที่มีปัญหา ในการติดต่อขอรับบริการต่างๆ จากหน่วยงานของรัฐ และเอกชน (3) เพื่อช่วยสื่อสารระหว่างคนหูหนวก กับคนหูปกติ หรือคนหูปกติกับคนหูหนวก ในสถานการณ์ต่างๆ และในการทำกิจกรรมทางสังคมร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรม การใช้ล่าม ภาษามือ 1.บทบาทของ องค์การบริหารส่วนตำบล และกองทุนสปสช. ที่มีผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 2. รายงานผลความคืบหน้าของการดำเนินงาน อาสาพัฒนาสังคมของแต่ละหมู่บ้าน (อพม) และอาสาสมัครดูแลคนพิการ  (อพมก.) โดย อพม. และ อพมก. ของแต่ละหมู่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh