กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายลดเสี่ยงโรคเรื้อรังในวัยผู้สูงอายุ ปี 2563 ”

ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางราตรี ทองเพียง นางสุมาวดี ณะไชยลักษณ์

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายลดเสี่ยงโรคเรื้อรังในวัยผู้สูงอายุ ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5270-1-02 เลขที่ข้อตกลง 3/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายลดเสี่ยงโรคเรื้อรังในวัยผู้สูงอายุ ปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายลดเสี่ยงโรคเรื้อรังในวัยผู้สูงอายุ ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายลดเสี่ยงโรคเรื้อรังในวัยผู้สูงอายุ ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลวัดขนุน อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5270-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขนุน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญกับกระบวนมีส่วนร่วมของทุกคนทุกภาคส่วนในสังคมในการพัฒนาประเทศด้านต่างๆ โดยเฉพาะด้านการเสริมสร้างสุขภาวะให้คนไทยมีสุขภาพแข็งแรงทั้งกายและใจ สามารถดูแลตนเองได้โดยมุ่งเน้นการวิจัยและพัฒนาทุนสังคม และภูมิปัญญาชุมชน ตลอดจนการมีส่วนร่วมของพื้นที่ในระดับท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดเกณฑ์ชี้วัดความสำเร็จของการสร้างสุขภาวะให้คนไทยแข็งแรง ส่วนหนึ่งนั้น โดยได้กำหนดตัวชี้วัดของโรคไม่ติดต่อ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคอัมพฤกษ์ อัมพาต โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจ โดยกำหนดให้มีกิจกรรมการคัดกรอง ค้นหาผู้ป่วยในชุมชน และให้มีการลดละกิจกรรมเสี่ยงอัน ได้แก่ เลิกการสูบบุหรี่ ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ลดอาหารที่มีรสหวาน มัน เค็ม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานผักผลไม้เพิ่มขึ้น มีการออกกำลังกายเป็นประจำ ลดภาวะน้ำหนักเกิน การดำเนินงานให้ประสบความสำเร็จอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนนั้นจำเป็นจะต้องอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกส่วนที่เกี่ยวข้อง และการกำหนดยุทธศาสตร์ที่เหมาะสมของพื้นที่

จากผลการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุตำบลวัดขนุน พบว่าผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 5 กิจกรรม ได้แก่ 1 ออกกำลังกาย 2รับประทานผักสดและผลไม้ 3 ดื่มน้ำสะอาดวันละ 8 แก้วหรือมากกว่า 4ไม่ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ 5สูบบุหรี่ มีเพียงร้อยละ 18.2 เท่านั้น ทั้งนี้การออกกำลังกายสมำ่เสมอเป็นพฤติกรรมที่พบตำ่สุด ผู้สูงอายุเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงร้อยละ 16.78 โรคเบาหวานร้อยละ 6.46 โรคหัวใจและหลอดเลือด ร้อยละ 3.38 โรคหลอดเลือดในสมองตีบ ร้อยละ 0.55 ผู้สูงอายุมีโอกาสเป็นภาวะทุพพลภาพเพิ่มขึ้น การออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกายมากขึ้นในชีวิตประจำวันอย่างน้อย 150 นาทีต่อสปดาห์ หรือวันละ 30 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ จะช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดและเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด นอกจากนั้นยังทำให้กล้ามเนื้อขาแขนแข็งแรง ทำให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ดีขึ้นและลดภาวะ การหกล้มได้

ตำบลวัดขนุน มีผู้สูงอายุ 1,269 คน เห็นว่าผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ในเรื่องการออกกำลังกายอยู่เป็นประจำมีเพียงจำนวนน้อยมาก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวัดขนุน จึงได้จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายและการเคลื่อนไหวร่างกายในผู้สูงอายุขึ้น โดยมีแนวคิดให้ความรู้การออกกำลังกายในภาพรวม จัดให้มีแกนนำผู้สูงอายุ ติดตามกระตุ้นให้ผู้สูงอายุออกกำลังกาย เป็นระยะเวลาอย่างอย่าง 6 เดือน เพื่อให้พฤติกรรมต่อเนื่องเป็นนิสัย เกิดความยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม
  2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายลดภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมติดตามพฤติกรรมสุขภาพและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การออกกำลังกาย
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายและประเมินสุขภาพรอบแรก
  3. กิจกรรมดำเนินการติดตามพฤติกรรมสุขภาพและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม

2ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ลดภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรังมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และนำการออกกำลังกายไปปฏิบัติได้ถูกต้องเหมาะสมเพิ่มขึ่นร้อยละ ๗๐
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายลดภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายสามารถลดเสี่ยงโรคเรื้อรังได้ร้อยละ ๖๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านการออกกำลังกายที่ถูกต้องเหมาะสม (2) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายลดภาวะเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีสุขภาพร่างกายแข็งแรงสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามพฤติกรรมสุขภาพและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การออกกำลังกาย (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการออกกำลังกายและประเมินสุขภาพรอบแรก (3) กิจกรรมดำเนินการติดตามพฤติกรรมสุขภาพและแลกเปลี่ยนประสบการณ์การออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายลดเสี่ยงโรคเรื้อรังในวัยผู้สูงอายุ ปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5270-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางราตรี ทองเพียง นางสุมาวดี ณะไชยลักษณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด