กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ร้านอาหารแผงลอย ใส่ใจผู้บริโภค สู่ตำบลปลอดโฟม และร้านชำปลอดยาอันตราย สอน.พะตง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ปี 2563 ”
ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวเรวดี รัตนะ




ชื่อโครงการ ร้านอาหารแผงลอย ใส่ใจผู้บริโภค สู่ตำบลปลอดโฟม และร้านชำปลอดยาอันตราย สอน.พะตง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63 – L7890 -001-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 มกราคม 2563 ถึง 31 พฤษภาคม 2564

กิตติกรรมประกาศ

"ร้านอาหารแผงลอย ใส่ใจผู้บริโภค สู่ตำบลปลอดโฟม และร้านชำปลอดยาอันตราย สอน.พะตง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ร้านอาหารแผงลอย ใส่ใจผู้บริโภค สู่ตำบลปลอดโฟม และร้านชำปลอดยาอันตราย สอน.พะตง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " ร้านอาหารแผงลอย ใส่ใจผู้บริโภค สู่ตำบลปลอดโฟม และร้านชำปลอดยาอันตราย สอน.พะตง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63 – L7890 -001-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 มกราคม 2563 - 31 พฤษภาคม 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 90,866.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยกระทรวงสาธารณสุขขอความร่วมมือให้ทุกจังหวัดดำเนินการรณรงค์ ลด ละ เลิกการใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่ทำมาจากโฟมเนื่องจากมีงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ พบว่าเมื่อนำกล่องโฟมไปบรรจุอาหารที่มีความร้อนสูงหรือที่มีไขมันหรือน้ำมันจะทำให้เกิดสาร สไตรีนและสารเบนซีน ซึ่งก่อมะเร็งออกมาปนเปื้อนในอาหารทำให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของผู้บริโภคและก่อให้เกิดปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมตามมา โดยภาชนะที่ทำมาจากโฟมต้องใช้เวลาในการย่อยสลายนานกว่า 100 ปี ดังนั้นสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ ฯ        ตำบลพะตง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของประชาชน
จากข้อมูลพื้นฐาน ปี 2562 ของสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา  มีร้านอาหาร จำนวน 106 ร้าน แผงลอย 102 ร้าน ร้านชำ 135 ร้าน (สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ต. พะตง, 2562) ส่งผลให้ปัญหาการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ปลอดภัยของประชาชนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาการใช้บรรจุภัณฑ์จากโฟม และพลาสติก ที่ก่อให้เกิดอันตราย เช่น ก่อให้เกิดมะเร็ง เป็นหมัน และสมองเสื่อม การใช้ยาอันตราย ยาสมุนไพรประเภทยาลูกกลอนแก้อาการปวดเมื่อยที่วางขายในร้านชำ ซึ่งอาจมีสารปนเปื้อนประเภทสารสเตียรอยด์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในระยะยาว เราจึงต้องดำเนินการเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการเพิ่มความรู้ให้ อสม. เพื่อให้ อสม.เป็นแทนของผู้รู้และไปบอกต่อให้ประชาชนทราบ
ดังนั้นสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯตำบลพะตง จึงจัดทำโครงการ “ร้านอาหารแผงลอย ใส่ใจผู้บริโภค สู่ตำบลปลอดโฟม และร้านชำปลอดยาอันตราย สอน.พะตง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ปี 2563” ขึ้น โดยให้ อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน รุ่นที่ 1 ถ่ายทอดความรู้แก่ อสม.ในตำบลพะตง เพื่อให้ อสม.ทุกคนมีความรู้ในการตรวจสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพผ่านหน้าต่างเตือนภัยสุขภาพ การเข้าถึงหน้าต่างเตือนภัยสุขภาพ การใช้ชุดทดสอบเบื้องต้นและ อสม.สามารถตรวจหาสารห้ามใช้ในเครื่องสำอางได้เหมือน อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ชุมชน และ เพื่อให้ ผู้ประกอบการได้มีความรู้ งดการใช้โฟมและพลาสติก ร้านชำไม่นำยาอันตรายมาขาย เพื่อผู้บริโภคสุขภาพดี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ อสม.มีความรู้เกี่ยวกับยาอันตราย กล่องโฟมและพลาสติก
  2. เพื่อให้ร้านชำ มีความรู้ และไม่จำหน่ายยาอันตราย
  3. เพื่อผู้ประกอบการร้านอาหารไม่บรรจุอาหารลงในกล่องโฟมและลดการใช้พลาสติก
  4. เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ไม่บรรจุอาหารในกล่องโฟมและลดการใช้พลาสติก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ เรื่องปลอดโฟม ตำบลพะตง
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ อสม.
  3. กิจกรรมเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ในชุมชนของ อสม.
  4. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 53
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อสม.ผ่านการประเมินศักยภาพ
  2. ร้านอาหาร ปลอดโฟม และลดการใช้พลาสติก ร้อยละ 25
  3. แผงลอย ปลอดโฟมและลดการใช้พลาสติก ร้อยละ 20
  4. ร้านชำ ผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว 10 ร้าน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ เรื่องปลอดโฟม ตำบลพะตง

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์การงดใช้โฟม ภายในชุมชน ผู้ร่วมรณรงค์ 50 คน ได้แวะร้านค้า ร้านอาหารเพื่อแนะนำการใช้วัสดุที่ไม่ใช่โฟม และ สิ่งที่ทดแทนการใช้โฟม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เกิดการรณรงค์เพื่อแนะนำการเลี่ยงกาใช้โฟม ร้านค้า ร้านอาหาร ชุมชน ตลาด ประธาน สวนสุข แสนสุข อุดมทอง ต้นลุง สวนพร้าว ย่านยาวออก หลบมุม คนในพื้นที่ ได้รับความรู้เรื่องผลเสี่ยงของการใช้โฟม และ เลือกที่จะใช้วัสดุเพื่อลดความเสี่ยงจากการใช้โฟม

 

100 0

2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ อสม.

วันที่ 9 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้ อสม. เรื่องการผลของการใช้โฟม และ วัสดุที่สามารถใช้ทดแทนโฟม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดอบรม อสม. เพื่อให้เพิ่มความรู้ความเข้าใจ ในโทษของโฟม และ วัสดุที่สามารถทดแทนการใช้โฟม อสม. มีความรู้ความเข้าใจในความเสี่ยงจากโฟมมากขึ้น

 

53 0

3. กิจกรรมเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ในชุมชนของ อสม.

วันที่ 13 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ออกพื้นที่เพือ่ให้คำแนะนำ ร้านค้า ร้านอาหาร ให้เข้าใจถึงโทษ ของการใช้โฟม และ แนะนำวัสดุที่สามารถทดแทนโฟมได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ให้คำแนะนำ ร้านค้า ร้านอาหาร เกี่ยวกับโทษของโฟม ร้านค้า ร้านอาหาร เกิดความเข้าใจ เกี่ยวกับโทษของโฟม และ พร้อมจะปรับเปลี่ยนการใช้วัสดุทดแทนโฟม

 

0 0

4. กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอย

วันที่ 15 เมษายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

ออกพื้นที่ร้านค้า แผงลอย ร้านอาหาร เพื่อแนะนำการโทษของโฟม และวัสดุที่ทดแทนโฟม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แนะนำร้านค้า ร้านอาหาร แผงลอย เรื่องโทษของโฟม ร้านค้า ร้านอาหาร แผงลอย เข้าใจและพร้อมเปลี่ยนแปลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ อสม.มีความรู้เกี่ยวกับยาอันตราย กล่องโฟมและพลาสติก
ตัวชี้วัด : อสม.ผ่านเป็น อสม.วิทยาศาสตร์การแพทย์ ร้อยละ 100
0.00

 

2 เพื่อให้ร้านชำ มีความรู้ และไม่จำหน่ายยาอันตราย
ตัวชี้วัด : ร้านชำ ไม่จำหน่ายยาอันตราย ร้อยละ 20
0.00

 

3 เพื่อผู้ประกอบการร้านอาหารไม่บรรจุอาหารลงในกล่องโฟมและลดการใช้พลาสติก
ตัวชี้วัด : ร้านอาหาร ปลอดโฟม ร้อยละ 25
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ไม่บรรจุอาหารในกล่องโฟมและลดการใช้พลาสติก
ตัวชี้วัด : แผงลอย ปลอดโฟม ร้อยละ 20
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 153
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 53
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีความรู้เกี่ยวกับยาอันตราย กล่องโฟมและพลาสติก (2) เพื่อให้ร้านชำ มีความรู้ และไม่จำหน่ายยาอันตราย (3) เพื่อผู้ประกอบการร้านอาหารไม่บรรจุอาหารลงในกล่องโฟมและลดการใช้พลาสติก (4) เพื่อให้ผู้ประกอบการแผงลอย ไม่บรรจุอาหารในกล่องโฟมและลดการใช้พลาสติก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ประชาสัมพันธ์ เรื่องปลอดโฟม ตำบลพะตง (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ อสม. (3) กิจกรรมเฝ้าระวังผลิตภัณฑ์ในชุมชนของ อสม. (4) กิจกรรมให้ความรู้ผู้ประกอบการร้านอาหารและแผงลอย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ร้านอาหารแผงลอย ใส่ใจผู้บริโภค สู่ตำบลปลอดโฟม และร้านชำปลอดยาอันตราย สอน.พะตง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา ปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63 – L7890 -001-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเรวดี รัตนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด