กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสักตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
สถานีอนามัยตำบลบางสัก




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสักตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2560-L1469-1-5 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสักตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางสัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสักตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2560-L1469-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางสัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพทย์แผนไทย (Thai Traditional Medicine) เป็นวิถีการดูแลสุขภาพของคนไทยที่สอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณีไทย มีการใช้สมุนไพรทั้งในรูปแบบอาหาร และยา ใช้ในการอบ การประคบ การนวดการแพทย์แผนไทยมีการวินิจฉัยโรคเป็นแบบความเชื่อแบบไทย มีองค์ความรู้เป็นทฤษฎี โดยพื้นฐานทางพุทธศาสนา ผสมกลมกลืนกับความเชื่อทางพิธีกรรม มีการเรียนการสอน และการถ่ายทอดความรู้ อย่างกว้างขวางสืบทอดมายาวนานหลายปี (สถาบันการแพทย์แผนไทย, 2551) ปัจจุบันเป็นที่ยอมรับกันแล้วว่าการแพทย์แผนปัจจุบันเพียงอย่างเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาสุขภาพได้ เนื่องจากเป็นระบบการแพทย์แผนปัจจุบัน มีค่าใช้จ่ายสูง ต้องพึ่งพิงเวชภัณฑ์ อุปกรณ์ทางการแพทย์จากต่างประเทศ ซึ่งเป็นข้อจำกัดที่สำคัญที่ทำให้การแพทย์แผนปัจจุบันไม่สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน (ดารณี อ่อนชมจันทร์, 2548) ดังนั้นภูมิปัญญาในการดูแลรักษาสุขภาพของการแพทย์พื้นบ้านอย่างลุ่มลึก จะช่วยดึงสิ่งที่ยังเหมาะสมกับยุคสมัยมาปรับใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในสถานการณ์จริงของชุมชนย่อมเป็นสิ่งที่ควรพิจารณา เพราะในทัศนะของชาวบ้าน พบว่าการแพทย์พื้นบ้านไม่ได้แยกออกจากการแพทย์แผนปัจจุบันอย่างเด็ดขาด แต่ดำรงอยู่อย่างเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ดังนั้นการพัฒนาสาธารณสุขจึงควรพัฒนาการแพทย์ทุกระบบไปพร้อมกันอย่างเหมาะสมด้วยเหตุนี้ภาครัฐและองค์กร สถาบันต่างๆ รวมทั้งภาคเอกชน จึงให้ความสนใจฟื้นฟู และพัฒนาการแพทย์พื้นบ้านอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เข้าใจสถานะปัจจุบันของภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านสุขภาพ อันจะนำไปสู่การส่งเสริมสุขภาพ การผสมผสานระบบการแพทย์พื้นบ้านสู่ระบบสุขภาพไทยอย่างเหมาะสม การดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอด เป็นวัฒนธรรมของท้องถิ่นในทุกภูมิภาคของประเทศ ในภาคใต้ พบว่า โต๊ะบีแด (หมอตำแย) มีบทบาทสำคัญในการเตรียมตัวให้แม่คลอดง่าย มีการดูแลหลังคลอดด้วยการอยู่ไฟโดยใช้ก้อนเส้า (กำราบ พานทองอ้างใน เสาวณีย์ กุลสมบูรณ์, 2550) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มารดาส่วนใหญ่ยังคงปฏิบัติตามความเชื่อเรื่องการใช้ความร้อนหลังคลอด (KaewsarnP, Moyle W, Creedy D., 2003) ส่วนสตรีในภาคเหนือเชื่อว่าการไม่ทำตามข้อห้ามในการปฏิบัติหลังคลอดจะส่งผลต่อสุขภาพไปตลอดชีวิต สตรีในชนบทปฏิบัติตามความเชื่อมากกว่าในเขตเมือง (PraneeLiamputtong,2004) ภาคกลางพบว่ามีการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดโดยความช่วยเหลือของญาติผู้ใหญ่ในครอบครัวและหมอพื้นบ้าน โดยเรียกรวมว่า การอยู่ไฟโดยใช้สมุนไพรหลายชนิด มีการงดอาหารแสลง และบริโภคอาหารบำรุงน้ำนม บำรุงโลหิต มีการประกอบพิธีกรรมตามวัฒนธรรมในบางท้องถิ่น (ลัฐิกาจันทร์จิต, 2540) เป็นต้น สำหรับเขตพื้นที่ตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง โดยความรับผิดชอบขององค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง มีสตรีตั้งครรภ์จำนวนหนึ่งที่ให้ความเชื่อมั่น และยอมรับการรักษาจากแพทย์แผนไทย โดยผสมผสานกับการดูแลรักษา จากแพทย์แผนปัจจุบัน เป็นปรากฏการณ์ที่น่าสนใจ เพราะเป็นทางเลือกหนึ่ง ในการที่จะช่วยให้คนในชุมชนพึ่งพาตนเองได้โดยอาศัยภูมิปัญญาของตน ในท้องถิ่นมาผสมผสานกับแพทย์แผนปัจจุบันได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ โดยปกติแล้วในระยะหลังคลอด เมื่อเวลาผ่านไปช่วงหนึ่ง ร่างกายจะมีการปรับตัวให้เข้าสู่สภาพปกติได้เอง โดยมดลูกจะมีขนาดเล็กลงเท่าก่อนตั้งครรภ์ หน้าท้องจะลดลง เมื่อรับประทานอาหารได้ตามปกติ ร่างกายจะเริ่มแข็งแรง ผิวพรรณสดใส โดยต้องพักฟื้นและใช้ระยะหนึ่ง แต่จะยังคงทิ้งร่องรอยของการผ่านการตั้งครรภ์และการคลอดลูก ซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้หญิงส่วนใหญ่ไม่พึงปรารถนา เช่น มีไขมันที่หน้าท้องมาก ผิวหน้าตกกระ ด่างดา ผิวหนังบริเวณคอ รักแร้ ขาหนีบคล้า ผิวหนังหย่อนยาน ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ตามหลัง น่อง รวมถึงอาการอ่อนเพลียเมื่อยล้า บางรายมีอาการหนาวสะท้านเมื่อเจออากาศที่เปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะอากาศเย็น ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ มารดาหลังคลอดต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ รวมทั้งหน้าที่การเลี้ยงดูบุตร เรียนรู้ปฏิกิริยาโต้ตอบของทารก ในขณะที่ต้องคงบทบาทหน้าที่เดิม คือ ภรรยาที่ดีของสามี เป็นแม่บ้านรับผิดชอบเรื่องต่างๆภายในบ้าน ในปัจจุบัน พบว่าชุมชนชนบทยังคงมีการปฏิบัติตนในการดูแลตนเองของหญิงหลังคลอดตามความเชื่อพื้นบ้านที่สืบทอดเป็นวัฒนธรรมการดูแลตนเองมายาวนาน ซึ่งมีความคล้ายคลึงกันในแต่ละภูมิภาคของประเทศไทย จะมีความแตกต่างกันบ้างเพียงเล็กน้อย ดังนั้น มารดาหลังคลอดจะต้องเรียนรู้วิธีการปฏิบัติตัวเพื่อฟื้นฟูร่างกาย และรูปร่างให้กลับคืนสู่สภาพเดิม รวมถึงการดูแลทารกที่เกิดมาให้มีสุขภาพที่สมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ แพทย์แผนไทย และทีมสหาขาวิชาชีพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ร่วมกับภาคีเครือข่าย องค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จึงสนใจที่จะศึกษา การส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย เขตพื้นที่ความรับผิดชอบองค์การบริหารส่วนตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง กรณีศึกษาโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางสัก อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เพื่อเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพมารดาหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ลดอาการคัดตึงเต้านม กระตุ้นการหลั่งน้ำนม ลดอาการปวดเมื่อยในมารดาหลังคลอด และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ สามารถทำงานได้เป็นปกติทำให้หน้าท้องยุบเร็วน้ำคาวปลาไหลออกดีขึ้นและแห้งเร็ว ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้นโดยครอบครัวเป็นผู้ดูแลหลัก อันจะส่งผลให้หญิงหลังคลอดเกิดความอบอุ่น ช่วยส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตมารดาหลังคลอด โดยให้ความตระหนักถึงคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งประกอบด้วย ๕ ขั้นตอน คือ ๑. การนวด ๒. การประคบสมุนไพร ๓. การอบสมุนไพร ๔. การทับหม้อเกลือ และ ๕. การได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย เป้าหมาย มารดาหลังคลอด ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ครบถ้วนตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทยร้อยละ ๘๐ มารดาหลังคลอด มีความรู้และสามารถปฏิบัติตน โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ครบถ้วนตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทยร้อยละ ๘๐

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งประกอบด้วย ๕ ขั้นตอน คือ ๑. การนวด ๒. การประคบสมุนไพร ๓. การอบสมุนไพร ๔. การทับหม้อเกลือ และ ๕. การได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย
    2. มารดาหลังคลอด ไม่มีภาวะแทรกซ้อน ลดอาการคัดตึงเต้านม ลดอาการปวดเมื่อยในมารดาหลังคลอด สามารถทำงานได้เป็นปกติ หน้าท้องยุบเร็ว น้ำคาวปลาไหลออกดีขึ้นและแห้งเร็ว ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ประชาสัมพันธ์โครงการ

    วันที่ 1 ตุลาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ประชาสัมพันธ์หญิงตั้งครรภ์เข้าร่วมโครงการ

     

    30 300

    2. ส่งเสริม-ฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอด

    วันที่ 1 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    หญิงหลังคลอดได้รับการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพโดยการให้อบรมให้ความรู้

     

    30 22

    3. ส่งเสริม-ฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยการประคบสมันไพร

    วันที่ 1 ธันวาคม 2559 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มารดาหลังคลอดได้รับส่งเสริม-ฟื้นฟูสุขภาพด้วยการประคบสมุนไพร

     

    30 22

    4. ส่งเสริม-ฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยการทับหม้อเกลือ

    วันที่ 1 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริม-ฟื้นฟูสุขภาพด้วยการทับหม้อเกลือ

     

    30 22

    5. ส่งเสริม-ฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยการปฏิบัติตัวหลังคลอด

    วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มารดาหลังคลอดได้รับส่งเสริม-ฟื้นฟูสุขภาพด้วยการปฏิบัติตัวหลังคลอด

     

    30 22

    6. ส่งเสริม-ฟื้นฟูสุขภาพมารดาหลังคลอดด้วยการอบสมันไพร

    วันที่ 11 พฤษภาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    มารดาหลังคลอดได้รับส่งเสริม-ฟื้นฟูสุขภาพด้วยการอบสมุนไพร

     

    30 22

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งประกอบด้วย ๕ ขั้นตอน คือ ๑. การนวด ๒. การประคบสมุนไพร ๓. การอบสมุนไพร ๔. การทับหม้อเกลือ และ ๕. การได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย เป้าหมาย มารดาหลังคลอด ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ครบถ้วนตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทยร้อยละ ๘๐ มารดาหลังคลอด มีความรู้และสามารถปฏิบัติตน โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ครบถ้วนตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทยร้อยละ ๘๐
    ตัวชี้วัด : - ลดอาการคัดตึงเต้านม - กระตุ้นการหลั่งน้ำนม - ลดอาการปวดเมื่อยในมารดาหลังคลอด และส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ - สามารถทำงานได้เป็นปกติ - หน้าท้องยุบเร็ว - น้ำคาวปลาไหลออกดีขึ้นและแห้งเร็ว - ช่วยให้ฟื้นตัวหลังคลอดได้เร็วขึ้น เครื่องมือ/วิธีการ - แบบประเมินทักษะ มารดาหลังคลอดจำนวน 20 ข้อ - แบบประเมินความพึงพอใจ 20 ข้อ เกณฑ์ - มารดาหลังคลอด ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ครบถ้วนตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทยร้อยละ ๘๐ - มารดาหลังคลอด มีความรู้และสามารถปฏิบัติตน โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ครบถ้วนตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทยร้อยละ ๘๐

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้มารดาหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ซึ่งประกอบด้วย ๕ ขั้นตอน คือ ๑. การนวด ๒. การประคบสมุนไพร ๓. การอบสมุนไพร ๔. การทับหม้อเกลือ และ ๕. การได้รับคำแนะนำการปฏิบัติตนหลังคลอด ได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทย เป้าหมาย มารดาหลังคลอด ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ครบถ้วนตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทยร้อยละ ๘๐ มารดาหลังคลอด มีความรู้และสามารถปฏิบัติตน โดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์พื้นบ้านด้วยการแพทย์แผนไทย ครบถ้วนตามมาตรฐานวิชาชีพแพทย์แผนไทยร้อยละ ๘๐

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการส่งเสริมสุขภาพหญิงหลังคลอดโดยใช้ภูมิปัญญาแพทย์แผนไทย จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 2560-L1469-1-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( สถานีอนามัยตำบลบางสัก )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด