กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว


“ โครงการพัฒนาต้นแบบผู้สูงอายุชะลอสมองเสื่อม ลดการถอยสู่กลุ่มติดบ้านและติดเตียง ”

ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ผศ.จิรพรรณ พีรวุฒิ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาต้นแบบผู้สูงอายุชะลอสมองเสื่อม ลดการถอยสู่กลุ่มติดบ้านและติดเตียง

ที่อยู่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L000-2-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาต้นแบบผู้สูงอายุชะลอสมองเสื่อม ลดการถอยสู่กลุ่มติดบ้านและติดเตียง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาต้นแบบผู้สูงอายุชะลอสมองเสื่อม ลดการถอยสู่กลุ่มติดบ้านและติดเตียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาต้นแบบผู้สูงอายุชะลอสมองเสื่อม ลดการถอยสู่กลุ่มติดบ้านและติดเตียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L000-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านพร้าว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) การที่ผู้สูงอายุช่วยเหลือตนเองได้หรือลดการพึ่งพาผู้อื่นในการดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน เป็นตัวชี้วัดสำคัญของนโยบายด้านผู้สูงอายุ จากข้อมูลประชากรผู้สูงอายุ เขตอำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง มีผู้สูงอายุจำนวน 4,872 คน โดยส่วนใหญ่ร้อยละ 97 ยังสามารถช่วยเหลือตนเองได้หรือช่วยเหลือผู้อื่น ชุมชนและสังคมได้ สอดคล้องกับพื้นที่หมู่ที่ 1 2 3 8 และ 9 ตำบลบ้านพร้าว โดย ร.พ.สต. มีการคัดกรอง ADL พบว่าผู้สูงอายุส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มที่ 1 คือช่วยเหลือตนเอง ชุมชน และสังคมได้ แต่จากการคัดกรองภาวะสมองเสื่อม พบว่าผู้สูงอายุบางส่วนมีสมรรถภาพทางสมองลดลง ถึงแม้จะพบจำนวนไม่มากแต่ปัญหาสมองเสื่อมมีความรุนแรง ส่งผลกระทบต่อผู้สูงอายุโดยตรงที่ต้องพึ่งพาผู้ดูแล ค่าใช้จ่ายในการรักษาสูงขึ้น ซึ่งปัจจุบันอุบัติการณ์ของภาวะสมองเสื่อมสูงขึ้นในวัยสูงอายุ ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลงเนื่องจากการดำเนินกิจวัตรประจำวันด้วยตนเองลดลง ต้องพึ่งพาผู้ดูแล ขณะที่ผู้ดูแลมีหลายบทบาท จะทำให้เกิดความเครียดหรือเกิดการทารุณกรรมแก่ผู้สูงอายุได้ จากงานวิจัย พบว่า ผู้สูงอายุกลุ่มที่สงสัยมีภาวะสมองเสื่อม มีเปอร์เซ็นต์การปฏิบัติกิจวัตรประจำวันลดลงมากกว่าผู้ที่ไม่มีภาวะสมองเสื่อม (นงนุช โอบะ, 2558) หากผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาสมองอย่างต่อเนื่องทั้ง 8 ด้าน ได้แก่ สมองด้านความคิด ด้านอารมณ์ การสื่อสาร การเคลื่อนไหว ความเข้าใจ การได้ยิน การมองเห็น และด้านการจดจำ จะช่วยชะลอความเสื่อมของเซลล์ประสาทได้และยังเพิ่มแขนงเซลล์ประสาทต่อไป ยังคงทำให้ผู้สูงอายุดำเนินกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเองอีกทั้งเป็นต้นแบบในการถ่ายทอดหรือบอกต่อแก่ผู้อื่นได้ เพื่อลดโอกาสในการถดถอยจากกลุ่มติดสังคมสู่การติดบ้านและติดเตียง จึงควรพัฒนาต้นแบบผู้สูงอายุเพื่อบอกต่อและเป็นตัวอย่างให้ผู้อื่นต่อไป รวมถึงสร้างเสริมทักษะชะลอความเสื่อมของสมองแก่สมาชิกผู้สูงอายุเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งนี้จึงมุ่งพัฒนาทักษะด้านการบริหารสมอง บริหารจิต บริหารกาย และกิจกรรมลดพฤติกรรมเสี่ยง ซึ่งครอบคลุมการพัฒนาสมองทั้ง 8 ด้าน ปัจจุบันสมาชิกศูนย์ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณ มีจำนวนกว่า 50 คน จากการคัดกรอง ADL และสมองเสื่อม พบว่า ADL อยู่ในกลุ่ม 1 ไม่มีภาวะสมองเสื่อม แต่มีแนวโน้มเกิดภาวะสมองเสื่อมเนื่องจากส่วนใหญ่มีความพร่องการทำหน้าที่ของสมองด้านการจดจำ การคิดคำนวณ การมองเห็น และมีการเคลื่อนไหวช้าลง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.ผู้สูงอายุ ร้อยละ 80 ได้รับการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและความสามารถในการทำกิจกรรมประจำวัน 2.ผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน ได้รับความรู้และพัฒนาทักษะป้องกันสองเสื่อมในด้านการบริหารสมอง บริหารจิต บริหารกาย และลดพฤติกรรมเสี่ยง 3.ผู้สูงอายุ จำนวน 10 คน ได้รับการพัฒนาเป็นต้นแบบป้องกันสมองเสื่อมในด้านการบริหารสมอง บริหารจิต บริหารกายและลดพฤติกรรมเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการพัฒนาต้นแบบผู้สูงอายุชะลอสมองเสื่อม ลดการถอยสู่กลุ่มติดบ้านและติดเตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สุงอายุจัดอยู่ในกลุ่มติดสังคม/สมรรถภาพทางสมองของผู้สูงอายุต้นแบบ ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.ผู้สูงอายุ ร้อยละ 80 ได้รับการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและความสามารถในการทำกิจกรรมประจำวัน 2.ผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน ได้รับความรู้และพัฒนาทักษะป้องกันสองเสื่อมในด้านการบริหารสมอง บริหารจิต บริหารกาย และลดพฤติกรรมเสี่ยง 3.ผู้สูงอายุ จำนวน 10 คน ได้รับการพัฒนาเป็นต้นแบบป้องกันสมองเสื่อมในด้านการบริหารสมอง บริหารจิต บริหารกายและลดพฤติกรรมเสี่ยง
ตัวชี้วัด : -คะแนนสมรรถภาพทางสมองและความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของสมาชิกผู้สูงอายุ/ต้นแบบผู้สูงอายุด้านการบริหารสมอง บริหารจิต บริหารกายและลดพฤติกรรมเสี่ยง จำนวน 10 คน -ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สุงอายุจัดอยู่ในกลุ่มติดสังคม/สมรรถภาพทางสมองของผู้สูงอายุต้นแบบ ไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิม
50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.ผู้สูงอายุ ร้อยละ 80 ได้รับการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมและความสามารถในการทำกิจกรรมประจำวัน 2.ผู้สูงอายุ จำนวน 30 คน ได้รับความรู้และพัฒนาทักษะป้องกันสองเสื่อมในด้านการบริหารสมอง บริหารจิต บริหารกาย และลดพฤติกรรมเสี่ยง 3.ผู้สูงอายุ จำนวน 10 คน ได้รับการพัฒนาเป็นต้นแบบป้องกันสมองเสื่อมในด้านการบริหารสมอง บริหารจิต บริหารกายและลดพฤติกรรมเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพัฒนาต้นแบบผู้สูงอายุชะลอสมองเสื่อม ลดการถอยสู่กลุ่มติดบ้านและติดเตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาต้นแบบผู้สูงอายุชะลอสมองเสื่อม ลดการถอยสู่กลุ่มติดบ้านและติดเตียง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L000-2-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ผศ.จิรพรรณ พีรวุฒิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด