โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563 ”
ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายประภาส ขำมาก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563
ที่อยู่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5235-2-10 เลขที่ข้อตกลง 6/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5235-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาขยะในชุมชน ได้ทวีความรุนแรงขึ้นเป็นลำดับเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร และพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไปจากเดิม ประชากรของประเทศไทยมีจำนวนมากกว่า ๖๐ ล้านคน สร้างขยะวันละประมาณ ๑๔.๔ ล้านตันต่อปีโดยที่เป็นขยะที่เกิดขึ้นจากชุมชนเมืองในเขตเทศบาลถึงร้อย ๕๕ ที่เหลือร้อยละ ๔๕ อยู่นอกเขตเทศบาล (กรมควบคุมมลพิษ, 2552) ขยะมูลฝอย เป็นปัญหา ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหากลิ่นเหม็นก่อให้เกิดเหตุรำคาญ เกิดปัญหาน้ำเสียเนื่องจากการทิ้งขยะในแม่น้ำลำคลอง น้ำเสียจากกองขยะไหลปนเปื้อนไปสู่แหล่งน้ำ และกองขยะเป็นแหล่งสะสมสิ่งสกปรก ก่อให้เกิดทัศนียภาพที่ไม่สวยงาม ขยะยัง เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของสัตว์นำโรค เช่น ยุง แมลงวัน และหนู ซึ่งเป็นพาหนะนำโรคบิด อหิวาตกโรค บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ ฯลฯ การเผาขยะกลางแจ้ง ทำให้เกิดควันและสารมลพิษทางอากาศ แหล่งกำเนิดมูลฝอยที่สำคัญ คือ บ้านพักอาศัย โดยที่ร้อยละ 80 ของมูลฝอย สามารถนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ โดยนำมารีไซเคิลได้ร้อยละ 30 -35 หมักทำปุ๋ยได้ ร้อยละ 40-45 แต่ปัจจุบันอัตราการนำมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่มีเพียงร้อยละ 18 ถือว่าต่ำมาก (กรมควบคุมมลพิษ, 2552) นโยบายการจัดการขยะในชุมชนของภาครัฐ ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ได้กำหนดให้มีการจัดการขยะในชุมชน การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเน้นให้มีระบบจัดการขยะในชุมชนตั้งจุดเริ่มต้นของการจัดการขยะในชุมชน จนถึงจนถึงขั้นสุดท้าย โดยให้ความสำคัญในการนำขยะมาแปรรูปนำมาใช้ใหม่ และเพิ่มมูลค่าให้กับขยะและมุ่งเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและบูรนาการกับทุกภาคส่วนให้มีประสิทธิภาพในการดำเนินการ ดังนั้น หากมีวิธีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกต้องเหมาะสมที่เป็นระบบและครบวงจร จะสามารถแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชนได้ นโยบายและแผนส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2540-2559 กำหนดเป้าหมายดำเนินการด้านการจัดการมูลฝอยไว้ ดังนี้1. ลดอัตราการเกิดขยะมูลฝอยชุมชนโดยเฉลี่ยให้ไม่เกิน 1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน 2.ให้มีการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นและ 3. ให้ทุกจังหวัดมีแผนหลักและแผนการจัดการขยะมูลฝอยและมีระบบกำจัดมูลฝอยที่ถูกลักษณะ (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2550:38)
จากการสำรวจสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของบ้านเรือนในพื้นที่ตำบลคลองรี ทั้งหมด จำนวน 836 หลังคาเรือน ในปี พ.ศ.2562 พบว่า หลังคาเรือนมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนที่ถูกต้อง ร้อยละ 31.54 มีการจัดการขยะโดยวิธีการเผากลางแจ้ง ร้อยละ 84.35 มีการนำขยะไปฝังกลบร้อยละ 4.25 ทำปุ๋ยหมักจากขยะเปียก ร้อยละ 21.60 หลังคาเรือนที่นำขยะเปียกไปเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 25.28 ครัวเรือนที่มีถังขยะถูกหลักสุขาภิบาล ร้อยละ 32.78 ครัวเรือนมีการกำจัดมูลสัตว์ที่ถูกต้องร้อยละ 68.25 และครัวเรือนทีการจัดการขยะที่มีเป็นพิษถูกต้อง ประเภทหลอดไฟฟ้า กระป๋องสเปร์ย ถ่านไพฉาย แบตเตอรี่ ร้อยละ 7.75 มีการขายขยะกลับไปใช้ใหม่ร้อยละ65.65 (ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของตำบลคลองรี ปี 2562) จากข้อมูลสภาพปัญหาในการจัดการขยะในตำบลคลองรี ยังไม่มีขบวนการร่วมกันแก้ไขปัญหาขยะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม การแก้ไขปัญหายังไม่ได้นำมาคิดจัดการอย่างเป็นระบบ ประชาชนต่างคิดต่างทำกันเอง ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการร่วมแก้ไขปัญหา คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพฐานศูนย์ตำบลคลองรี ตระหนักดีว่าปัญหาจากขยะมูลฝอย เป็นมลพิษที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นเรื่องเร่งด่วนที่ทุกคนต้องร่วมมือร่วมใจกันจัดการโดยการให้มีคัดแยกที่ถูกต้องและนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด โดยเริ่มจากระดับครัวเรือนขยายออกไปสู่ชุมชน อันจะส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยลดลง คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพฐานศูนย์ตำบลคลองรี ร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง ได้วิเคราะห์ปัญหาและเห็นความสำคัญในการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบูรนาการของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องที่ต้องทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา โดยใช้ขบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาโดยขบวนการA-I-C (Appreciation Influence Control) ซึ่งเป็นขบวนการที่ให้ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมาร่วมวิเคราะห์ปัญหา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการขยะ และร่วมกันหาแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยในตำบลคลองรีอย่างมีระบบสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและทำให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องรู้สึกความเป็นเจ้าของทุกขั้นตอนในการคิดแก้ไขปัญหา สามารถทำให้เกิดความยั่งยืนในการจัดการขยะที่ถูกต้อง ส่งผลดีต่อสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของครัวเรือนประชาชนมีสุขภาพที่ดีในโอกาสต่อไป เพราะฉะนั้นการพัฒนาชุมชนที่นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ต้องเปิดโอกาสให้บุคคล และผู้แทนของกลุ่มองค์กร ต่างๆ ที่อยู่ใน ชุมชน ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม และรับผิดชอบในการกำหนดทิศทางในการพัฒนาชุมชน ร่วมตัดสินใจอนาคตของชุมชน ร่วมดำเนินกิจกรรมการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องและร่วมรับผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น มีการร่วมติดตามและประเมินผลเป็นระยะอย่างต่อเนื่องตลอดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการขยะที่เข้มแข็งด้วยชุมชนเอง 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำระดับละแวกบ้านให้มีความรู้และเป็นผู้นำในการจัดการขยะในครัวเรือนที่ต่อเนื่องและยั่งยืน 3.เพื่อรณรงค์ให้มีการกำจัดขยะที่ต่อเนื่องในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการขยะที่เข้มแข็งด้วยชุมชนเอง
2. มีแนวทางและมาตรการในการจัดการขยะในครัวเรือนที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการขยะที่เข้มแข็งด้วยชุมชนเอง 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำระดับละแวกบ้านให้มีความรู้และเป็นผู้นำในการจัดการขยะในครัวเรือนที่ต่อเนื่องและยั่งยืน 3.เพื่อรณรงค์ให้มีการกำจัดขยะที่ต่อเนื่องในชุมชน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
-มีคณะกรรมการขับเคลื่อนในการจัดการขยะจากผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในชุมชนตำบลคลองรี
-. เกิดรูปแบบการดำเนินงานในการจัดการขยะในตำบลคลองรี โดยมีแกนนำระดับละแวกบ้านเป็นผู้นำหลัก
- รณรงค์อย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการขยะที่เข้มแข็งด้วยชุมชนเอง 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำระดับละแวกบ้านให้มีความรู้และเป็นผู้นำในการจัดการขยะในครัวเรือนที่ต่อเนื่องและยั่งยืน 3.เพื่อรณรงค์ให้มีการกำจัดขยะที่ต่อเนื่องในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5235-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประภาส ขำมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563 ”
ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายประภาส ขำมาก
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5235-2-10 เลขที่ข้อตกลง 6/63
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองรี อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5235-2-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2562 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ในปัจจุบันปัญหาขยะในชุมชน ได้ทวีความรุนแรงขึ้นเป็นลำดับเนื่องจากการเพิ่มขึ้นของประชากร และพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนไปจากเดิม ประชากรของประเทศไทยมีจำนวนมากกว่า ๖๐ ล้านคน สร้างขยะวันละประมาณ ๑๔.๔ ล้านตันต่อปีโดยที่เป็นขยะที่เกิดขึ้นจากชุมชนเมืองในเขตเทศบาลถึงร้อย ๕๕ ที่เหลือร้อยละ ๔๕ อยู่นอกเขตเทศบาล (กรมควบคุมมลพิษ, 2552) ขยะมูลฝอย เป็นปัญหา ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหากลิ่นเหม็นก่อให้เกิดเหตุรำคาญ เกิดปัญหาน้ำเสียเนื่องจากการทิ้งขยะในแม่น้ำลำคลอง น้ำเสียจากกองขยะไหลปนเปื้อนไปสู่แหล่งน้ำ และกองขยะเป็นแหล่งสะสมสิ่งสกปรก ก่อให้เกิดทัศนียภาพที่ไม่สวยงาม ขยะยัง เป็นแหล่งเพาะพันธ์ของสัตว์นำโรค เช่น ยุง แมลงวัน และหนู ซึ่งเป็นพาหนะนำโรคบิด อหิวาตกโรค บาดทะยัก โรคทางเดินหายใจ ฯลฯ การเผาขยะกลางแจ้ง ทำให้เกิดควันและสารมลพิษทางอากาศ แหล่งกำเนิดมูลฝอยที่สำคัญ คือ บ้านพักอาศัย โดยที่ร้อยละ 80 ของมูลฝอย สามารถนำมาใช้ประโยชน์ใหม่ได้ โดยนำมารีไซเคิลได้ร้อยละ 30 -35 หมักทำปุ๋ยได้ ร้อยละ 40-45 แต่ปัจจุบันอัตราการนำมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่มีเพียงร้อยละ 18 ถือว่าต่ำมาก (กรมควบคุมมลพิษ, 2552) นโยบายการจัดการขยะในชุมชนของภาครัฐ ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 ได้กำหนดให้มีการจัดการขยะในชุมชน การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเน้นให้มีระบบจัดการขยะในชุมชนตั้งจุดเริ่มต้นของการจัดการขยะในชุมชน จนถึงจนถึงขั้นสุดท้าย โดยให้ความสำคัญในการนำขยะมาแปรรูปนำมาใช้ใหม่ และเพิ่มมูลค่าให้กับขยะและมุ่งเน้นให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการขยะและบูรนาการกับทุกภาคส่วนให้มีประสิทธิภาพในการดำเนินการ ดังนั้น หากมีวิธีการบริหารจัดการขยะมูลฝอยอย่างถูกต้องเหมาะสมที่เป็นระบบและครบวงจร จะสามารถแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยในชุมชนได้ นโยบายและแผนส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2540-2559 กำหนดเป้าหมายดำเนินการด้านการจัดการมูลฝอยไว้ ดังนี้1. ลดอัตราการเกิดขยะมูลฝอยชุมชนโดยเฉลี่ยให้ไม่เกิน 1 กิโลกรัมต่อคนต่อวัน 2.ให้มีการใช้ประโยชน์จากขยะมูลฝอยชุมชนไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้นและ 3. ให้ทุกจังหวัดมีแผนหลักและแผนการจัดการขยะมูลฝอยและมีระบบกำจัดมูลฝอยที่ถูกลักษณะ (กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2550:38)
จากการสำรวจสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของบ้านเรือนในพื้นที่ตำบลคลองรี ทั้งหมด จำนวน 836 หลังคาเรือน ในปี พ.ศ.2562 พบว่า หลังคาเรือนมีการคัดแยกขยะในครัวเรือนที่ถูกต้อง ร้อยละ 31.54 มีการจัดการขยะโดยวิธีการเผากลางแจ้ง ร้อยละ 84.35 มีการนำขยะไปฝังกลบร้อยละ 4.25 ทำปุ๋ยหมักจากขยะเปียก ร้อยละ 21.60 หลังคาเรือนที่นำขยะเปียกไปเลี้ยงสัตว์ ร้อยละ 25.28 ครัวเรือนที่มีถังขยะถูกหลักสุขาภิบาล ร้อยละ 32.78 ครัวเรือนมีการกำจัดมูลสัตว์ที่ถูกต้องร้อยละ 68.25 และครัวเรือนทีการจัดการขยะที่มีเป็นพิษถูกต้อง ประเภทหลอดไฟฟ้า กระป๋องสเปร์ย ถ่านไพฉาย แบตเตอรี่ ร้อยละ 7.75 มีการขายขยะกลับไปใช้ใหม่ร้อยละ65.65 (ข้อมูลพื้นฐานด้านสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของตำบลคลองรี ปี 2562) จากข้อมูลสภาพปัญหาในการจัดการขยะในตำบลคลองรี ยังไม่มีขบวนการร่วมกันแก้ไขปัญหาขยะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม การแก้ไขปัญหายังไม่ได้นำมาคิดจัดการอย่างเป็นระบบ ประชาชนต่างคิดต่างทำกันเอง ขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนในการร่วมแก้ไขปัญหา คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพฐานศูนย์ตำบลคลองรี ตระหนักดีว่าปัญหาจากขยะมูลฝอย เป็นมลพิษที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อประชาชนและสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อม เป็นเรื่องเร่งด่วนที่ทุกคนต้องร่วมมือร่วมใจกันจัดการโดยการให้มีคัดแยกที่ถูกต้องและนำขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด โดยเริ่มจากระดับครัวเรือนขยายออกไปสู่ชุมชน อันจะส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยลดลง คณะกรรมการเครือข่ายสุขภาพฐานศูนย์ตำบลคลองรี ร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง ได้วิเคราะห์ปัญหาและเห็นความสำคัญในการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบูรนาการของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องที่ต้องทำให้เกิดการมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา โดยใช้ขบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการแก้ไขปัญหาโดยขบวนการA-I-C (Appreciation Influence Control) ซึ่งเป็นขบวนการที่ให้ประชาชนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมาร่วมวิเคราะห์ปัญหา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการจัดการขยะ และร่วมกันหาแนวทางในการจัดการขยะมูลฝอยในตำบลคลองรีอย่างมีระบบสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงและทำให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้องรู้สึกความเป็นเจ้าของทุกขั้นตอนในการคิดแก้ไขปัญหา สามารถทำให้เกิดความยั่งยืนในการจัดการขยะที่ถูกต้อง ส่งผลดีต่อสภาพสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมของครัวเรือนประชาชนมีสุขภาพที่ดีในโอกาสต่อไป เพราะฉะนั้นการพัฒนาชุมชนที่นำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ต้องเปิดโอกาสให้บุคคล และผู้แทนของกลุ่มองค์กร ต่างๆ ที่อยู่ใน ชุมชน ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วม และรับผิดชอบในการกำหนดทิศทางในการพัฒนาชุมชน ร่วมตัดสินใจอนาคตของชุมชน ร่วมดำเนินกิจกรรมการพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องและร่วมรับผลประโยชน์ที่เกิดขึ้น มีการร่วมติดตามและประเมินผลเป็นระยะอย่างต่อเนื่องตลอดไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการขยะที่เข้มแข็งด้วยชุมชนเอง 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำระดับละแวกบ้านให้มีความรู้และเป็นผู้นำในการจัดการขยะในครัวเรือนที่ต่อเนื่องและยั่งยืน 3.เพื่อรณรงค์ให้มีการกำจัดขยะที่ต่อเนื่องในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการขยะที่เข้มแข็งด้วยชุมชนเอง 2. มีแนวทางและมาตรการในการจัดการขยะในครัวเรือนที่ต่อเนื่องและยั่งยืน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการขยะที่เข้มแข็งด้วยชุมชนเอง 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำระดับละแวกบ้านให้มีความรู้และเป็นผู้นำในการจัดการขยะในครัวเรือนที่ต่อเนื่องและยั่งยืน 3.เพื่อรณรงค์ให้มีการกำจัดขยะที่ต่อเนื่องในชุมชน ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ -มีคณะกรรมการขับเคลื่อนในการจัดการขยะจากผู้เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนในชุมชนตำบลคลองรี -. เกิดรูปแบบการดำเนินงานในการจัดการขยะในตำบลคลองรี โดยมีแกนนำระดับละแวกบ้านเป็นผู้นำหลัก - รณรงค์อย่างน้อยปีละ 3 ครั้ง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการดำเนินการจัดการขยะที่เข้มแข็งด้วยชุมชนเอง 2. เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำระดับละแวกบ้านให้มีความรู้และเป็นผู้นำในการจัดการขยะในครัวเรือนที่ต่อเนื่องและยั่งยืน 3.เพื่อรณรงค์ให้มีการกำจัดขยะที่ต่อเนื่องในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการชุมชนร่วมใจกำจัดภัยขยะในชุมชน ประจำปี 2563 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 63-L5235-2-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประภาส ขำมาก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......