กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว


“ โครงการเฝ้าระวังภัยจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน แบบองค์รวม ”

ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภัยจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน แบบองค์รวม

ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63 - L1527-01-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังภัยจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน แบบองค์รวม จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภัยจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน แบบองค์รวม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภัยจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน แบบองค์รวม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63 - L1527-01-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,540.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถาณการณ์ของโรคเรื้อรังที่มีการขยายตัว อย่างรวดเร็ว เนื่องจากสภาวะความเป็นอยู่และวิถีชีวิตที่ เปลี่ยนไป ทำให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีจำนวนมากขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังหนึ่งที่เป็นปัญหาสำคัญในศตวรรษที่ 21 การดำเนินของโรคมีปัญหาซับซ้อนทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม นำไปสู่การเกืดภาวะ แทรกซ้อนที่เรื้อรังและรุนแรงได้ อาทิเช่น โรคหะวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมอง ไตวายเรื้อรัง ภาวะแทรกซ้อนทางตา ทำให้จอประสาทตาเสื่อม ซึ่งเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดความพิการหลายประการได้แก่ถูกตัดขา ตาบอด รวมทั้งทำให้เกิดความสูญเสียทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเองและผู้ดูแลมากที่สุดโรคหนึ่ง หากไม่สามารถควบคุมภาวะแทรกซ้อนให้อยู่ในภาวะปกติได้ ก็ส่งผลให้เกิดปัญหาที่เรื้อรังต่อไปได้ ข้อมูลผู้ป่วยเบาหวานจังหวัดตรังปี 2560-2562 (รายงานข้อมูลจังหวัด 43 แฟ้ม) จำนวน 24,018 25,231 และ 27,055 คนตามลำดับ และจากผลการตรวจหาค่าระดับน้ำตาลในเลือด HbA1c ผู้ป่วยเบาหวานเปรียบเทียบระหว่างปี 2560 ถึง 2562 พบว่าผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีมีจำนวน 5,557 5,786 และ 7,310 คนตามลำดับ คิดเป็นร้อยละ 23.13 22.93 และ 27.02 ตามลพดับ ซึ่งมีแนวโน้มเริ่มลดลงเรื่อยๆ จากสถานการณ์ที่ผู้ป่วยไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ส่งผลทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนทางไต ตา และเท้าเพิ่มขึ้นทุกปี และส่งผลเสียต่อผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจรวมถึงขากสมรรถภาพในการประกอบอาชีพด้วย โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว จากการตรวจสุขภาพประจำปีเพื่อคะดกรองภาวะแทรกซ้อน ไต ตาม เท้า ปี 2562 พบว่าจำนวนผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินภาวะแทรกซ้อน จำนวน 109 คนผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนทางตา จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 10.09 ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้า มีอาการชาปลายเท้าแต่ยังไม่สูญเสียการรับความรู้สึก จำนวน 50 คน คืดเป็นร้อยละ 45.87 มีแผลที่เท้าและได้รับการส่งต่อจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 5.50 ผู้ป่วยสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ (HbA1C)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองหรือผู้ป่วยในครอบครัว
  3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้มีความรู้ความเข้าใจ ถึงบริบทในชีวิตประจำวัน กับการลดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอยู่
  4. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนมีอาการชา ปลายเท้า ได้รับการแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือดและลดการเกิดแผลที่เท้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ อสม.
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน หรือ ผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนและให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนซ้ำซ้อน
  4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม"ฟื้นฟู ดูแลเท้า "ในผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชาปลายเท้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 259
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน 2.ผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองหรือผู้ป่วยในครอบครัว 3.ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้มีความรู้ความเข้าใจ ถึงบริบทในชีวิตประจำวัน กับการลดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอยู่ 4.ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนมีอาการชา ปลายเท้า ได้รับการแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือดและลดการเกิดแผลที่เท้า


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของ อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน
79.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองหรือผู้ป่วยในครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน หรือผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองหรือผู้ป่วยในครอบครัว
80.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้มีความรู้ความเข้าใจ ถึงบริบทในชีวิตประจำวัน กับการลดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอยู่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนซ้ำซ้อนได้มีความรู้ความเข้าใจ ถึงบริบทในชีวิตประจำวันกับการลดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอยู่
50.00

 

4 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนมีอาการชา ปลายเท้า ได้รับการแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือดและลดการเกิดแผลที่เท้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนมีอาการชา ปลายเท้า ได้รับการแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือดและลดการเกิดแผลที่เท้า
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 259
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 259
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ อสม.มีความรู้เพิ่มขึ้นจากการอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยเบาหวาน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนมีความรู้และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองหรือผู้ป่วยในครอบครัว (3) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน ได้มีความรู้ความเข้าใจ ถึงบริบทในชีวิตประจำวัน กับการลดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอยู่ (4) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนมีอาการชา ปลายเท้า ได้รับการแช่เท้าด้วยสมุนไพรเพื่อกระตุ้นการไหลเวียนเลือดและลดการเกิดแผลที่เท้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมให้ความรู้ เพื่อส่งเสริมการดูแลสุขภาพตนเองของผู้ป่วยเบาหวาน หรือ ผู้ดูแลผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อน (3) กิจกรรมที่ 3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนและให้ความรู้แก่ผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนซ้ำซ้อน (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรม"ฟื้นฟู ดูแลเท้า "ในผู้ป่วยเบาหวานที่มีอาการชาปลายเท้า

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังภัยจากภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน แบบองค์รวม จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 63 - L1527-01-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด