กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ ส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันตามวัยในเขต อบต.ตุยง ปี 63 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลหนองจิก

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันตามวัยในเขต อบต.ตุยง ปี 63

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-1-08 เลขที่ข้อตกลง 03/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันตามวัยในเขต อบต.ตุยง ปี 63 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันตามวัยในเขต อบต.ตุยง ปี 63



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันตามวัยในเขต อบต.ตุยง ปี 63 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3065-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,020.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี พบว่า ผลการดำเนินงานในภาพรวมของตำบลตุยง 8 หมู่บ้าน ปีงบประมาณ 2561-2562 พบว่า ผลของความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กอายุครบ 1 ปี ได้แก่ วัคซีน BCG ร้อยละ 99.20,97.48HBV1 ร้อยละ99.20,97.48 , DTB-HB3OPV3 ร้อยละ 62.40,69.75 และ MMR1 74.40,73.95 , IPV1 ร้อยละ 20,76.47 , เด็กอายุครบ 2 ปี ได้รับวัคซีน DTP4 , OPV4 ร้อยละ 61.17,50.39และJE161.17,60.47 , เด็กอายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีน JE2 ร้อยละ 61.54,58.02 , MMR2 ร้อยละ 61.54,58.02และเด็กอายุครบ 5 ปี ได้รับวัคซีน DTP5 , OPV5 ร้อยละ 57.52,41.88 ตามลำดับ (ข้อมูลจาก HDC จากจังหวัดเดือนตุลาคม 2561,2562) จากรายงานดังกล่าวแสดงให้เห็นว่า เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ในแต่ละช่วงอายุหรือบางรายไม่ได้รับวัคซีน ทำให้มีโอกาสเกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนขึ้น ได้แก่ โรคหัด , โรคคอตีบ และโรคไอกรน เป็นต้น จากสถานการณ์โรคหัดในเขต อบต.ตุยง ช่วงระหว่างเดือนกันยายนถึงตุลาคม 2561,2562 พบว่า เด็กในกลุ่มอายุต่ำกว่า 12 ปี เกิดโรคหัด จำนวน 5 ราย , 14 ราย จากการไม่ได้รับวัคซีนหรือบางรายได้รับวัคซีนไม่ครบ และเข้ารับการรักษานอนในโรงพยาบาล ระยะเวลา 4-8 วัน เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น หูชั้นกลางอักเสบ และภาวะปอดบวมรุนแรง เป็นต้น ผู้ปกครองจำเป็นต้องดูแลบุตรอย่างต่อเนื่องและป้องกันตนเองเพื่อไม่ให้ได้รับการติดต่อโรคหัดจากลูกโดยการใส่ผ้าปิดจมูก และรับบริการฉีดวัคซีนหัด คางทูม หัดเยอรมัน ในกลุ่มผู้สัมผัสทุกคนในครอบครัวที่มีอายุต่ำกว่า 40 ปี ณ โรงพยาบาลใกล้บ้าน จากการวิเคราะห์และสอบถามข้อมูลจากผู้ปกครองในชุมชน พบว่า สาเหตุการได้รับวัคซีนในเด็กไม่ครบตามเกณฑ์หรือไม่ได้รับ มีหลายสาเหตุด้วยกัน ได้แก่ กลัวบุตรมีไข้ทำให้ผู้ปกครองต้องหยุดงานและขาดรายได้ , ผู้ปกครองขาดความตระหนักในการพาบุตรมารับบริการวัคซีน ณ สถานบริการสาธารณสุข , ผู้ปกครองไปประกอบอาชีพชายแดนมาเลเซียหรือต่างจังหวัด ทำให้เด็กขาดนัดการได้รับวัคซีนหรือไม่ได้ฉีด เด็กอาศัยอยู่กับญาติผู้ใหญ่ที่ไม่สามารถมารับบริการได้ ความเชื่อและทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับวัคซีน ทำให้ไม่พาบุตรหลานมาฉีด จากปัญหาดังกล่าวส่งผลกระทบในระยะยาวต่อกลุ่มเป้าหมายเด็กในชุมชนตำบลตุยง ดังนั้นคณะทำงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของตำบลตุยงโดยโรงพยาบาลหนองจิก ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพของเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี และลดอัตราป่วยการเกิดโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ได้แก่ โรคหัด และโรคคอตีบ รวมทั้งพัฒนาระบบงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคโดยอาศัยเครือข่ายในชุมชน ติดตามเด็กที่ฉีดวัคซีนไม่ครบหรือไม่ได้รับวัคซีน เพื่อให้ได้วัคซีนครบตามเกณฑ์ช่วงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในเขต อบต.ตุยง ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
  2. อัตราการเกิดโรคป้องกันได้ด้วยวัคซีนในตำบลตุยงลดน้อยลงจากเดิม
  3. เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบมีการติดตามเด็กส่งคลินิกสุขภาพเด็กดี หรือเจ้าหน้าที่ให้บริการเชิงรุกในพื้นที่ กรณีที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ที่รพ.

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. ประชุมเครือข่ายสุขภาพเรื่องวัคซีน ในเขตรับผิดชอบของ อบต.ตุยง เพื่อรับทราบข้อมูลและติดตามเด็กขาดนัดหรือไม่ได้รับวัคซีนในแต่ละไตรมาส จำนวน 3 ครั้ง
  2. อบรมผู้ปกครองเด็กในเขต อบต.ตุยง และเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ ที่ให้บริการส่งเสริมเรื่องวัคซีนเชิงรุกในรายที่ไม่สามารถมาสถานบริการาธารณสุขได้ ใน 8 ชุมชน (สร้างจิตตระหนัก การมีส่วนร่วม)
  3. บริการฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่ตามแผนงานคลีนิค
  4. ติดตาม สรุปผลการดำเนินงานบริการวัคซีน เป็นไตรมาส
  5. สรุป จัดทำรูปเล่ม รายงานผลการดำเนินงานส่งกองทุนฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 300
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กแรกเกิดถึง 5 ปีในชุมชนเขต อบต.ตุยง ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์และอัตราการเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับวัคซีนน้อยลงจากเดิม
    1. ผู้ปกครองมีความตระหนักในการพาบุตรมารับบริการฉีดวัคซีนเพิ่มขึ้นและอาสาสมัครสาธารณสุขมีระบบในการติดตามเด็กเป็นราย พื้นที่รับผิดชอบ
    2. ลดการระบาดของโรคติดต่อที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
    3. เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่มีความเข้มแข็ง
    4. เกิดการพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายสุขภาพและการประชาสัมพันธ์กองทุนหลักประกันสุขภาพในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1. ประชุมเครือข่ายสุขภาพเรื่องวัคซีน ในเขตรับผิดชอบของ อบต.ตุยง เพื่อรับทราบข้อมูลและติดตามเด็กขาดนัดหรือไม่ได้รับวัคซีนในแต่ละไตรมาส จำนวน 3 ครั้ง

วันที่ 18 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมเครือข่ายสุขภาพเรื่องวัคซีน ในเขตรับผิดชอบของ อบต.ตุยง เพื่อรับทราบข้อมูลและติดตามเด็

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการประชุมเครือข่ายเรื่องวัคซีน

 

30 0

2. อบรมผู้ปกครองเด็กในเขต อบต.ตุยง และเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ ที่ให้บริการส่งเสริมเรื่องวัคซีนเชิงรุกในรายที่ไม่สามารถมาสถานบริการาธารณสุขได้ ใน 8 ชุมชน (สร้างจิตตระหนัก การมีส่วนร่วม)

วันที่ 26 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมผู้ปกครองเด็กในเขต อบต.ตุยง และเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ ที่ให้บริการส่งเสริมเรื่องวัคซีนเชิงรุกในรายที่ไม่สามารถมาสถานบริการาธารณสุขได้ ใน 8 ชุมชน (สร้างจิตตระหนัก การมีส่วนร่วม)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการอบรมผู้ปกครองเด็กในการส่งเสริมวัคซีน

 

154 0

3. บริการฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นท่ี่ตามแผนงานคลีนิค

วันที่ 26 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

บริการฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นท่ี่ตามแผนงานคลีนิค

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการบริการฉีดวัคซีน

 

0 0

4. ติดตาม สรุปผลการดำเนินงานบริการวัคซีน เป็นไตรมาส

วันที่ 15 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตาม สรุปผลการดำเนินงานบริการวัคซีน เป็นไตรมาส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการติดตาม สรุปผลการดำเนินงาน

 

0 0

5. ติดตาม สรุปผลการดำเนินงานบริการวัคซีน เป็นไตรมาส

วันที่ 8 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ติดตาม สรุปผลการดำเนินงานบริการวัคซีน เป็นไตรมาส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการติดตาม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. ประชุมตัวแทนอาสาสมัครสาธารณสุขในเขตรับผิดชอบของ อบต.ตุยง จำนวน ๘ หมู่บ้าน จำนวน ๕๐ คน รวม ๓ ครั้งในวันที่ ๖ มีนาคม ๒๕๖๓ , วันที่ ๕ มิถุนายน ๒๕๖๓ และวันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุมโรงพยาบาล พูดคุยเรื่อง ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในแต่ละหมู่บ้าน ปัญหาอุปสรรคที่พบจากการทำงาน , แจกรายชื่อเด็กที่ขาดนัดการฉีดวัคซีนเพื่อติดตาม และสอบถามข้อมูลประชากรเด็กที่อยู่อาศัยในพื้นที่ตามจริงพร้อมสำรวจการเคลื่อนย้ายที่อยู่อาศัย โดยการสำรวจจากเจ้าหน้าที่ร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข ปีละ ๒ ครั้ง ได้แก่ มีนาคม และสิงหาคม เพื่อบันทึกความครอบคลุมในบัญชี ๑ โปรแกรม Hos PCU ตำบลตุยง ๒.ประชุมผู้ปกครองเด็กในเขต อบต.ตุยง ๘ หมู่บ้าน จำนวน ๗ ครั้ง มีผู้เข้าร่วมประชุมครั้งละ ๒๒ คน รวมทั้งหมดจำนวน ๑๕๔ คน ครั้งที่ 1 วันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๖๓ ณ รร.ตาดีกา บ้านบางปลาหมอ ม.8 , ครั้งที่ 2วันที่ 29 มิถุนายน ๒๕๖3 ณ รร.ตาดีกา บ้านคลองรี ม.1 , ครั้งที่ 3 วันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖3 ณ ศาลาอเนกประสงค์ ม.5 , ครั้งที่ 4 วันที่ ๓ กรกฎาคม ๒๕๖3 ณ บ้านคลองขุด ม.2 , ครั้งที่ 5 วันที่ 23 กรกฎาคม 2563 ณ มัสยิดดาริงกลาง ม.4 , ครั้งที่ 6 วันที่ 24 กรกฎาคม 2563 ณ มัสยิดบ้านโคกม่วง ม.7 และครั้งที่ 7 วันที่ 29 กรกฎาคม 2563 ณ ร้านน้ำชาบ้านปะกาลือสง ม.6 โดยให้ความรู้เรื่อง สมุดบันทึกสุขภาพมารดาและเด็ก พร้อมแนะนำให้มารดาตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีน และให้บริการวัคซีนเชิงรุกในชุมชนเขต อบต.ตุยง จำนวน ๗ ครั้ง พร้อมสอบถามสาเหตุของการไม่มารับบริการวัคซีนตามนัดหมายจากผู้ปกครอง รับบริการวัคซีนส่วนขาด จำนวน ๙๒ คน
๔.อัตราป่วยด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในปี ๒๕๖๓ ได้แก่ โรคหัดในเด็กทุกกลุ่มอายุ พบว่า เขต อบต.ตุยง เกิดโรคหัด จำนวน 4 ราย เมื่อเทียบกับปี ๒๕๖๒ จำนวน ๗ ราย ๕. อัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง ๕ ปี ของตำบลตุยง ปีงบประมาณ ๒๕๖3 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์เป้าหมายคือ ไม่ถึง ๙๐ เปอร์เซ็นต์ พบว่า มีความครอบคลุมดังนี้ในช่วงอายุครบ 1 ปี , ๒ ปี , ๓ ปี และ ๕ ปี **ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 1 ปี (fully immunized) เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดปัตตานี อำเภอหนองจิก ตำบลตุยง ปี 2563 B หมายถึง จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปี ที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด ในงวดที่รายงาน จากแฟ้ม Person ตามมาตรฐานโครงสร้าง 43 แฟ้ม (สถานะการอยู่อาศัย Type area = 1, 3) A หมายถึง จำนวนเด็กอายุครบ 1 ปี ในงวดที่รายงานที่ได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ ได้แก่ วัคซีน BCG, HBV1, IPV, DTP-HBV3, โปลิโอ3 และ MMR1 หมู่บ้าน รวม 2562 2563 ไตรสมาส1 ไตรมาส2 ไตรมาส3 ไตรมาส4 B A % B A % B A % B A % B A % 00 ตุยง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 01 ตุยง 12 9 75 7 6 85.71 1 1 100 2 2 100 2 0 0 02 ตุยง 42 17 40.48 7 5 71.43 16 5 31.25 7 2 28.57 12 5 41.67 03 โคกดีปรี 10 7 70 3 3 100 1 1 100 3 2 66.67 3 1 33.33 04 ท่ายาลอ 34 18 52.94 6 4 66.67 10 5 50 10 6 60 8 3 37.5 05 แฉงแหวง 3 1 33.33 1 1 100 0 0 0 1 0 0 1 0 0 06 ปะกาลือสง 13 5 38.46 3 2 66.67 4 1 25 2 1 50 4 1 25 07 โคกม่วง 7 3 42.86 1 1 100 2 2 100 1 0 0 3 0 0 08 บางปลาหมอ 7 5 71.43 4 3 75 2 1 50 1 1 100 0 0 0

**ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 2 ปี (fully immunized) เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดปัตตานี อำเภอหนองจิก ตำบลตุยง ปี 2563 B หมายถึง จำนวนเด็กอายุครบ 2 ปี ที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด ในงวดที่รายงาน จากแฟ้ม Person ตามมาตรฐานโครงสร้าง 43 แฟ้ม (สถานะการอยู่อาศัย Type area = 1, 3) A หมายถึง จำนวนเด็กอายุครบ 2 ปี ในงวดที่รายงานที่ได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ ได้แก่ วัคซีน BCG, HBV1, DTP-HBV3, โปลิโอ3, MMR1, JE, DTP4 และ โปลิโอ4 หมู่บ้าน รวม 2562 2563 ไตรสมาส1 ไตรมาส2 ไตรมาส3 ไตรมาส4 B A % B A % B A % B A % B A % 00 ตุยง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 01 ตุยง 12 9 75 7 5 71.43 2 1 50 2 2 100 1 1 100 02 ตุยง 49 20 40.82 11 5 45.45 11 4 36.36 12 3 25 15 8 53.33 03 โคกดีปรี 3 3 100 1 1 100 0 0 0 0 0 0 2 2 100 04 ท่ายาลอ 30 12 40 3 1 33.33 16 7 43.75 5 0 0 6 4 66.67 05 แฉงแหวง 7 6 85.71 2 2 100 0 0 0 3 2 66.67 2 2 100 06 ปะกาลือสง 17 6 35.29 4 2 50 5 2 40 2 0 0 6 2 33.33 07 โคกม่วง 3 0 0 2 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 08 บางปลาหมอ 6 1 16.67 1 0 0 0 0 0 2 1 50 3 0 0

**ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 3 ปี (fully immunized) เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดปัตตานี ปี 2563 B หมายถึง จำนวนเด็กอายุครบ 3 ปี ที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด ในงวดที่รายงาน จากแฟ้ม Person ตามมาตรฐานโครงสร้าง 43 แฟ้ม (สถานะการอยู่อาศัย Type area = 1, 3) A หมายถึง จำนวนเด็กอายุครบ 3 ปี ในงวดที่รายงานที่ได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ ได้แก่ วัคซีน BCG, HBV1, DTP-HBV3, โปลิโอ3, MMR1, JE, DTP4, โปลิโอ4 และ MMR2

หมู่บ้าน รวม 2562 2563 ไตรสมาส1 ไตรมาส2 ไตรมาส3 ไตรมาส4 B A % B A % B A % B A % B A % 00 ตุยง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 01 ตุยง 25 19 76 6 3 50 6 4 66.67 3 3 100 10 9 90 02 ตุยง 40 18 45 10 6 60 12 5 41.67 10 3 30 8 4 50 03 โคกดีปรี 4 4 100 2 2 100 1 1 100 1 1 100 0 0 0 04 ท่ายาลอ 34 12 35.29 7 2 28.57 10 2 20 10 6 60 7 2 28.57 05 แฉงแหวง 4 2 50 1 1 100 1 0 0 1 1 100 1 0 0 06 ปะกาลือสง 20 3 15 6 1 16.67 3 1 33.33 7 0 0 4 1 25 07 โคกม่วง 6 2 33.33 3 1 33.33 1 0 0 2 1 50 0 0 0 08 บางปลาหมอ 10 4 40 2 1 50 3 2 66.67 4 1 25 1 0 0

**ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ในเด็กอายุครบ 5 ปี (fully immunized) เขตสุขภาพที่ 12 จังหวัดปัตตานี อำเภอหนองจิก ตำบลตุยง ปี 2563 B หมายถึง จำนวนเด็กอายุครบ 5 ปี ที่อาศัยอยู่จริงในพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด ในงวดที่รายงาน จากแฟ้ม Person ตามมาตรฐานโครงสร้าง 43 แฟ้ม (สถานะการอยู่อาศัย Type area = 1, 3) A หมายถึง จำนวนเด็กอายุครบ 5 ปี ในงวดที่รายงานที่ได้รับวัคซีนแต่ละชนิดครบตามเกณฑ์ ได้แก่ วัคซีน BCG, HBV1, DTP-HBV3, โปลิโอ3, MMR1, JE, DTP4, โปลิโอ4 MMR2, DTP5 และ โปลิโอ5 หมู่บ้าน รวม 2562 2563 ไตรสมาส1 ไตรมาส2 ไตรมาส3 ไตรมาส4 B A % B A % B A % B A % B A % 00 ตุยง 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 01 ตุยง 12 3 25 1 1 100 4 1 25 3 0 0 4 1 25 02 ตุยง 36 12 33.33 11 3 27.27 8 1 12.5 10 6 60 7 2 28.57 03 โคกดีปรี 7 2 28.57 1 0 0 1 0 0 2 0 0 3 2 66.67 04 ท่ายาลอ 37 6 16.22 10 2 20 7 1 14.29 13 3 23.08 7 0 0 05 แฉงแหวง 8 1 12.5 3 1 33.33 2 0 0 2 0 0 1 0 0 06 ปะกาลือสง 25 1 4 6 0 0 6 0 0 6 1 16.67 7 0 0 07 โคกม่วง 7 2 28.57 2 2 100 2 0 0 2 0 0 1 0 0 08 บางปลาหมอ 9 2 22.22 1 1 100 4 1 25 3 0 0 1 0 0

หมายเหตุ :: รายงานความครอบคลุมวัคซีน เป้าหมาย = เด็กที่เกิดตามเดือนในไตรมาสนั้นๆ และอายุครบตามเป้าหมาย ผลงาน = เด็กตามเป้าหมายที่ได้รับวัคซีนนั้นๆแล้ว โดยดูที่การได้รับเป็นสำคัญ ซึ่งหากได้รับแล้วจะถือว่าเป็นผลงานไม่ว่าปัจจุบันจะถึงเวลาประเมินหรือไม่ เพื่อประโยชน์ในการติดตามมารับวัคซีนให้ครบตามเป้าหมาย สิ่งสำคัญต้องดูอายุและเกณฑ์การได้รับวัคซีนเป็นหลัก วันที่ประมวลผล :: 29 ตุลาคม 2563
ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ •/ บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ................................-............................................................. 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...อาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้บริการ จำนวน ๕๐ คน และกลุ่มผู้ปกครองและเด็ก จำนวน ๑๕๔ คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ................๒๐,๐๒๐.-................. บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ...............๒๐,๐๒๐.-......... บาท  คิดเป็นร้อยละ ...๑๐๐.............. งบประมาณเหลือส่งคืนกองทุนฯ ..................-........................ บาท  คิดเป็นร้อยละ ....-............. 4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี •/ มี ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) ๑. ผู้ปกครองบางรายไม่มีความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนักถึงความสำคัญของการได้รับวัคซีน
๒. การประกอบอาชีพของผู้ปกครองต่างพื้นที่ เช่น ไปมาเลเซีย และต่างจังหวัด ต้องโยกย้ายถิ่นที่อยู่บ่อยๆ ๓. การติดตามเด็กในแต่ละพื้นที่จากอาสาสมัครสาธารณสุขยังไม่ครอบคลุมตามกลุ่มเป้าหมาย ๔. ความไม่สงบทางจังหวัดชายแดนใต้ ทำให้การติดตามเด็กได้ไม่ครอบคลุม ๕. บางพื้นที่นัดให้บริการเชิงรุกแล้วไม่ออกมาในชุมชน เนื่องจากกลัวว่า วัคซีนไม่ฮาลาล และมีความเชื่อที่ผิดๆ เกี่ยวกับวัคซีน
แนวทางการแก้ไข (ระบุ)
๑.ให้ความรู้และสร้างความเชื่อมั่นเกี่ยวกับวัคซีน ผ่านทางผู้นำทางศาสนา ผู้นำชุมชน และเครือข่ายในพื้นที่ เช่น องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และอาสาสมัครสาธารณสุข รวมทั้งผู้ปกครองที่พาบุตรมาฉีดวัคซีนครบ ๒.ให้การรณรงค์และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับวัคซีนอย่างต่อเนื่อง โดยหาเอกสารแผ่นพับที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดจัดทำเกี่ยวกับวัคซีน เป็นคำวินิจฉัย ๓.แจ้งรายชื่อเด็กที่ขาดนัดการฉีดวัคซีนให้เจ้าหน้าที่ประจำหมู่และอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ติดตาม

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในเขต อบต.ตุยง ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด : 1.อัตราความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กแรกเกิดถึง 5 ปีครบตามเกณฑ์มาตรฐาน เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 90% (ยกเว้นวัคซีน MMR เป้าหมายไม่ต่ำกว่า 95%)
70.00 90.00 95.00

 

2 อัตราการเกิดโรคป้องกันได้ด้วยวัคซีนในตำบลตุยงลดน้อยลงจากเดิม
ตัวชี้วัด : 2.ลดอัตราการป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ได้แก่ โรคคอตีบ เป้าหมาย ไม่เกิน 0.015 ต่อประชากรแสนคน และโรคหัดในผู้ป่วยทุกกลุ่มอายุ เป้าหมาย ไม่เกิน 4 ต่อประชากรล้านคน
0.00 0.00 20.00

 

3 เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบมีการติดตามเด็กส่งคลินิกสุขภาพเด็กดี หรือเจ้าหน้าที่ให้บริการเชิงรุกในพื้นที่ กรณีที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ที่รพ.
ตัวชี้วัด : 3.อัตราการติดตามเด็กขาดนัดโดย อสม.ในพื้นที่ครบทุกราย เป้าหมาย 100%
100.00 100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 300 300
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี ในเขต อบต.ตุยง ได้รับวัคซีนครบตามเกณฑ์มาตรฐาน (2) อัตราการเกิดโรคป้องกันได้ด้วยวัคซีนในตำบลตุยงลดน้อยลงจากเดิม (3) เพื่อให้เครือข่ายสุขภาพในพื้นที่รับผิดชอบมีการติดตามเด็กส่งคลินิกสุขภาพเด็กดี หรือเจ้าหน้าที่ให้บริการเชิงรุกในพื้นที่ กรณีที่ไม่สามารถมารับวัคซีนได้ที่รพ.

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมเครือข่ายสุขภาพเรื่องวัคซีน ในเขตรับผิดชอบของ อบต.ตุยง เพื่อรับทราบข้อมูลและติดตามเด็กขาดนัดหรือไม่ได้รับวัคซีนในแต่ละไตรมาส จำนวน 3 ครั้ง (2) อบรมผู้ปกครองเด็กในเขต อบต.ตุยง และเครือข่ายสุขภาพในพื้นที่ ที่ให้บริการส่งเสริมเรื่องวัคซีนเชิงรุกในรายที่ไม่สามารถมาสถานบริการาธารณสุขได้ ใน 8 ชุมชน (สร้างจิตตระหนัก การมีส่วนร่วม) (3) บริการฉีดวัคซีนเชิงรุกในพื้นที่ตามแผนงานคลีนิค (4) ติดตาม สรุปผลการดำเนินงานบริการวัคซีน เป็นไตรมาส (5) สรุป จัดทำรูปเล่ม รายงานผลการดำเนินงานส่งกองทุนฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันตามวัยในเขต อบต.ตุยง ปี 63

รหัสโครงการ 63-L3065-1-08 รหัสสัญญา 03/2563 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ส่งเสริมการได้รับวัคซีนป้องกันตามวัยในเขต อบต.ตุยง ปี 63 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-1-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลหนองจิก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด