กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ


“ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) แบบครบวงจร ปี 2563 ”

อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางปราณี จำปา

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) แบบครบวงจร ปี 2563

ที่อยู่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 5/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2564


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) แบบครบวงจร ปี 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) แบบครบวงจร ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) แบบครบวงจร ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 28 กุมภาพันธ์ 2564 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 122,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสทิงพระ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลายพบมากตามบ้านที่อยู่อาศัยในสวน ขยายพันธุ์โดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์เก่า หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด สำหรับโรคไข้ติดเชื้อไวรัสชิก้า เป็นโรคระบาดใหม่ที่นำโรคโดยยุงลายบ้านเป็นตัวพาหะนำโรค และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย(ชิกุนคุนยา) นำโรคโดยยุงลายป่าเป็นพาหะนำโรค ซึ่งโรคระบาดดังกล่าวทั้ง 3 โรค มียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งต้องดำเนินการรณรงค์ตาม มาตรการ 3 เก็บป้องกัน 3 โรค
รายงานสถานการณ์โรคไข้เลือดออกในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 13 พฤษภาคม 2563 (ข้อมูลจากระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 กองระบาดวิทยา) มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือด สะสมรวม 11,938 ราย อัตราป่วย 18.01 ต่อประชากรแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต 8 ราย จากรายงานการเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออกของสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 จังหวัดสงขลา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 13 พฤษภาคม 2563 พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก 887 ราย มีรายงานผู้เสียชีวิต 1 ราย ในจังหวัดยะลา ส่วนจังหวัดที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือ จังหวัดสงขลา 333 ราย รองลงมา คือ นราธิวาส 181 ราย, ปัตตานี 151 ราย, ยะลา 105 ราย, ตรัง 57 ราย, พัทลุง 51 ราย และสตูล 9 ราย สำหรับพื้นที่เทศบาลตำบลสทิงพระ เป็นพื้นที่ที่มีการระบาดของไข้เลือดออก จากข้อมูล 5 ปี ที่ผ่านมามีผู้ป่วยเป็นไข้เป็นไข้เลือดออก ดังนี้ คือ ปี พ.ศ.2558 จำนวน 3 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 101.08 ต่อแสนประชากร ปี พ.ศ.2559 จำนวน 13 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 448.28 ต่อแสนประชากร ปี 2560 มีผู้ป่วย จำนวน 6 ราย ปีพ.ศ. 2561 พบผู้ป่วย 6 ราย ปีพ.ศ.2562 พบผู้ป่วยโรคไข้ปวดข้อยุงลายจำนวน 8 ราย (ข้อมูลจาก รพ.สทิงพระ) การพยากรณ์โรคไข้เลือดออกในปี 2563 ใช้วิธีการทางสถิติแบบอนุกรมเวลา ด้วย ARIMA modelโดยใช้ข้อมูลจำนวนผู้ป่วยย้อนหลัง 10 ปี (ปี พ.ศ. 2553-2562) ผลการวิเคราะห์ คาดว่าในปี 2563 จะมีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ประมาณ 140,000 ราย ซึ่งใกล้เคียงกับการระบาดใหญ่ในปี 2558 โดยเชื้อไวรัส DEN-1 และ DEN-2 เป็นชนิดเชื้อเด่นและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่ง DENV-2 เป็นชนิดเชื้อไวรัสเดงกีที่ทำให้เกิดอาการรุนแรง ดังนั้น ในปี 2563 จึงอาจจะเป็นอีกปีที่มีการระบาดต่อเนื่อง และมีผู้ป่วยอาการรุนแรงและเสียชีวิตสูงเหมือนกับปี 2562 สำหรับกลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยโรคไข้เลือดออกยังคงอยู่กลุ่มเด็กวัยเรียน (5-14 ปี)แต่กลุ่มเสี่ยงต่อการเสียชีวิตเป็นวัยผู้ใหญ่ (อายุ 35 ปีขึ้นไป) โดยเฉพาะในผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีโรคประจำตัว (ที่มา: กรมควบคุมโรค มกราคม 2563)ซึ่งจากข้อมูลทางระบาดวิทยาและสภาพอากาศที่มีฝนตกทำให้มีแหล่งน้ำขัง กลางวันแดดร้อนทำให้ยุงลายเพาะพันธุ์และขยายพันธุ์ได้เร็วขึ้น จึงต้องมีการควบคุมป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ สิ่งแวดล้อมต้องถูกสุขลักษณะ โดยเฉพาะสภาพแวดล้อมที่อยู่อาศัยของบุคคลต้องสะอาดถูกสุขลักษณะ ไม่มีขยะที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรค จึงจะทำให้ไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สาเหตุโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า และโรคไข้ปวดข้อยุงลาย และการปรับปรุงควบคุมหรือรักษาสภาพแวดล้อม ให้สะอาดถูกสุขลักษณะเป็นสิ่งที่ประชาชนในทุกคนทำได้ สามารถปฏิบัติได้ในวิถีชีวิตประจำวันของแต่ละบุคคลในแต่ละหลังคาเรือน ซึ่งหมู่บ้านใดชุมชนใดมีการปรับปรุงรักษาความสะอาดของที่พักอาศัยให้ได้มาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ก็จะเป็นการป้องกันโรคไข้เลือดในชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ประชาชนในชุมชนนั้นๆมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วยด้วยโรคเลือดออกซึ่งอาจมีอันตรายถึงแก่ชีวิต เนื่องจากโรคไข้เลือดออกยังไม่มียารักษาโดยตรงหรือกำจัดโรคโดยตรง จะใช้การรักษาตามอาการทำให้แต่ครอบครัวต้องเสียค่าใช้จ่าย เสียเวลาในการดูแลรักษาบุตรหลาน และเสียงบประมาณในการรักษาพยาบาลโดยไม่จำเป็น และที่สำคัญคือถ้าไม่ดำเนินการควบคุมป้องกันโรคในระบบที่มีประสิทธิภาพ โรคไข้เลือดออกอาจจะระบาดได้ในชุมชน ซึ่งทุก ๆ คนก็มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก ซึ่งการดำเนินการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า และโรคปวดข้อยุงลายจะได้ผลดีที่สุดต้องได้รับความร่วมมือจากทุกคน ทุกหลังคาเรือน ทุกภาคส่วนจึงจะได้ผลอย่างยั่งยืน ทั้งในระยะก่อนเกิดโรค ในขณะที่เกิดโรค และการเฝ้าระวังหลังจากเกิดโรค
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลสทิงพระ จึงได้จัดทำ “รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ชิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลายแบบครบวงจร ปี 2563” ขึ้น เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีจิตสำนึกและตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค เพื่อรักษาความสะอาดและร่วมมือกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมในครัวเรือนที่พักอาศัยและชุมชนของตนเองให้สะอาด ถูกสุขลักษณะและรักษาให้เกิดความต่อเนื่องยั่งยืน ซึ่งถ้าครัวเรือนและชุมชนมีความสะอาด ไม่มีขยะ ไม่มีแหล่งเพาะพันธุ์ยุง ไม่มีแหล่งน้ำขัง ไม่มีแหล่งสกปรกสะสมแล้ว โรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า และโรคปวดข้อยุงลาย หรือโรคติดต่อต่างๆที่เกิดขึ้นในชุมชนก็จะลดลงได้เป็นอย่างมากส่งผลให้ประชาชนมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ส่งผลให้มีภาวะเศรษฐกิจที่ดีต่อไปได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองและปฏิบัติตนตามาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3โรค
  2. 2.เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การรณรงค์เชิงรุกเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย
  2. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ เรื่องการจัดการบ้านเรือน และสภาพสิ่งแวดล้อมรอบบ้านตามมาตการ 3 เก็บป้องกัน 3โรค
  2. บ้านเรือนที่อยู่อาศัย และชุมชนหมู่บ้านสะอาด น่าอยู่ ลดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อโรคต่างๆ
  3. ไม่มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคปวดข้อยุงลาย และโรคระบาดติดต่อในชุมชน/หมู่บ้านลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

วันที่ 15 มิถุนายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

พ่นหมอกควันกำจัดยุงลายในเขตพื้นที่เทศบาลตำบล จำนวน 5 ชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลดการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก

 

0 0

2. การรณรงค์เชิงรุกเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย

วันที่ 21 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์ลูกน้ำยุงลายแจกทรายให้ความรู้ประชาชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลูกน้ำและยุงมีจำนวนน้อยลง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความตระหนัก และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองและปฏิบัติตนตามาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3โรค
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการปฏิบัติตนตามมาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3 โรค อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 80 ของเป้าหมายโครงการ
0.00

 

2 2.เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : 1.ไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในชุมชน โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย หรือมีจำนวนลดลงจากปีที่ผ่านมา
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีความตระหนัก  และร่วมมือกันรักษาความสะอาดในบ้านเรือน/ชุมชนของตนเองและปฏิบัติตนตามาตรการ 3 เก็บ ป้องกัน 3โรค (2) 2.เพื่อเป็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย ในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การรณรงค์เชิงรุกเพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลายและแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย (2) พ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โรคไข้ซิก้า โรคไข้ปวดข้อยุงลาย (ชิคุนกุนยา) แบบครบวงจร ปี 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางปราณี จำปา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด