กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์


“ โครงการใกล้ใจ ไกลโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในตำบลท่าโพธิ์ ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายวิทูร ชิตมณี

ชื่อโครงการ โครงการใกล้ใจ ไกลโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในตำบลท่าโพธิ์ ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการใกล้ใจ ไกลโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในตำบลท่าโพธิ์ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการใกล้ใจ ไกลโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในตำบลท่าโพธิ์ ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการใกล้ใจ ไกลโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในตำบลท่าโพธิ์ ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าโพธิ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ วิวัฒนาการด้านการแพทย์เจริญก้าวหน้าล้ำไปมาก สามารถที่จะรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ ซึ่งสามารถทำให้ประชากรโลกมีสุขภาวะโรค หายจากการเจ็บป่วยและมีอายุขัยที่สามารถชะลออายุขัยได้ยืนยาวขึ้น แต่มีโรคเรื้อรังคือโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคอ้วน โรคหัวใจและหลอดเลือด ยิ่งเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ อย่างรวดเร็ว ซึ่งเป็นสาเหตุหลักและเป็นสาเหตุลำดับต้นๆของการเป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต การเพิ่มจำนวนของผู้ป่วยเรื้อรัง สาเหตุหลักมาจากยุคสมัยบริโภคนิยม การบริโภคแบบเร่งด่วน นิยมบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง รับประทานอาหารที่มีรสหวานมาก ขาดการออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวร่างกายน้อยลงในการใช้ชีวิต เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ยุคโซเชียล ( Social Media ) พฤติกรรมดังกล่าวนี้ เป็นสาเหตุให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงและไขมันในเลือดสูง เป็นตัวนำไปสู่การเกิดโรคเรื้อรัง คือ โรคเบาหวาน โรคความดันในเลือดสูง โรคอ้วน โรคหัวใจ โรคไขมันในเลือดสูง
ในตำบลท่าโพธิ์ จำนวนผู้ป่วยเรื้อรังที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง จำนวน ๘๖๔ คน และที่รับการรักษาและรับยาที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเนียน จำนวน ๑๒๐ คน ส่วยใหญ่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันในเลือดสูง โรคเบาหวาน ซึ่งมีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด นำไปสู่การเป็นโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตในอนาคต ฉะนั้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการเยี่ยมบ้านและการสร้างจิตสำนึก ความตระหนัก ผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชนมีความสำคัญอย่างยิ่ง
จากการวิเคราะห์สถานการณ์ผู้ป่วยเรื้อรังที่เป็นโรคหลอดเลือดมักมีพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การปฏิบัติตัวที่ถูกต้อง การรับประทานยาที่ไม่ต่อเนื่อง และด้วยอายุของผู้ป่วยมักลืมทานยา ซึ่งมีผลในการ อย่างมาก ในการเกิดโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ได้ในอนาคต ดังนั้นเพื่อเป็นป้องกัน การเกิดโรคอัมพฤต อัมพาต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเนียนจึงได้จัดทำโครงการใกล้ใจ ไกลโรค ในตำบลท่าโพธิ์ เพื่อการจัดการตนเองและเพื่อป้องกันการเกิดปัญหาแทรกซ้อน ต่างๆตลอดจนรักษาสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีของตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
  3. อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังที่รับการรักษาในคลินิกโรคเรื้อรังและติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังที่รับการรักษานอกคลินิก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 144
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ได้รับการเยี่ยมบ้านในครั้งนี้ สามารถลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี และผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังที่รับการรักษาในคลินิกโรคเรื้อรังและติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังที่รับการรักษานอกคลินิก

วันที่ 23 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ลงเยี่ยมบ้านกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือดสมอง และติดตามเยี่ยมบ้านฟื้นฟูสมรรถภาพป้องกันการเกิดซ้ำ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยี่ยวบ้านกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ และหลอดเลือดสมอง จำนวน 144 ราย

 

144 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการเยี่ยมบ้านพบว่า มีผู้ป่วย HT ที่มีความเสี่ยงสูงในการเกิด stroke 1 ราย ผูป่วย DM น้ำตาลในเลือดสูง 1 ราย ส่งต่อผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลแม่ข่าย 2 ราย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมได้ ร้อยละ ๕๐
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถควบคุมได้ ร้อยละ ๔๐
0.00

 

3 อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ลดลง
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย โรคเบาหวาน น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 2
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 144
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 144
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดี (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (3) อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย ความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังที่รับการรักษาในคลินิกโรคเรื้อรังและติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังที่รับการรักษานอกคลินิก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการใกล้ใจ ไกลโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในตำบลท่าโพธิ์ ปีงบประมาณ 2563

ระยะเวลาโครงการ 16 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ผู้ป่วยเกิดองค์ความรู้ด้านการดูแลตนเอง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการออกกำลังกาย เพื่อลดความรุนแรงของพยาธิสภาพของโรค

การติดตามของ อสม.แกนนำ ที่ติดตามหลังเยี่ยมบ้าน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีการจัดทำกราฟ 7 สี เพื่อประเมินความเสี่ยงและความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

สมุดบันทึกประจำตัวของผู้ป่วยเรื้อรัง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วย

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

เกิดกลุ่มการติดตามเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยเรื้อรังของตำบลท่าโพธิ์

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

ผู้ป่วยมีการดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคลได้ดียิ่งขึ้น เพราะการลงเยี่ยมบ้านจะมีการแนะนำในทุกๆด้าน โดยเฉพาะด้านการดูแลสุขภาพอนามัย การดูแลตนเอง ในด้านต่างๆ

จากการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยมีสุขภาวะที่ดีขึ้น

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

แนะนำการรับประทานอาหาร เช่น งดอาหาร หวาน มัน เค็ม ที่จะก่อให้เกิดความรุนแรงของโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

กลุ่มแกนนำที่ลงเยี่ยมบ้าน มีการแนะนำการรออกกำลังกายในผู้ป่วยเรื้อรังอย่างน้อย อาทิตย์ ละ 3-4 ครั้ง นาน 15 นาที เพื่อลดความรุนแรงของพยาธิสภาพของโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

แนะนำการลด เหล้า และบุหรี่ เพราะเหล้าแะบุหรี เพิ่มความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดโรค และเพิ่มความรุนแรงของโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

แนะนำให้ทำพิธีเช่น ทำบุญ ละหมาด ตามความเชื่อ ของแต่ละศาสนา ที่ผู้ป่วยนับถือเพื่อลดความเครียดและสร้างคุณค่าในตนเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

ผู้ป่วยใช้สมุนไพรบางชนิด เพื่อใช้ในการรักษาโรค

ผู้ป่วยปลูกพืชสมุนไพรในครัวเรือนที่ลงเยี่ยมบ้าน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

ผู้ป่วยมีการจัดการกับตัวเอง เช่น การรับประทานยาตามนัด การพบแพทย์ตามนัด

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

มีการใช้ทรัพยากรบุคคล คือใช้บุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนสุขภาพ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

อสม.ได้มีการทำโครงการนี้ อย่างต่อเนื่องเพื่อป้องกันภาวะอัมพฤกษ์ อัมพาตในชุมชน

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

ผู้ป่วยรู้สึกมีุความพึงพอใจ ยินดี ที่ทีมลงเยี่ยมบ้าน ไปเยี่ยมบ้าน พร้อมให้คำแนะนำในด้านต่างๆ

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

ผู้ป่วยและญาติ มีความรู้ ในการรักษา การดูแลตนเอง การปฎิบัติตัว และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดความรุนแรงของโรคเรื้อรัง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการใกล้ใจ ไกลโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต ในตำบลท่าโพธิ์ ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิทูร ชิตมณี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด