โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวใยบัว หะหมาน ตำแหน่งครู
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2563
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-3-25 เลขที่ข้อตกลง 23/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1485-3-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๔๖ มุ่งเน้นให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ
สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เด็กทุกคนมีสิทธิได้รับการอบรมเลี้ยงดู และส่งเสริมพัฒนาการ ตลอดจนการเรียนรู้อย่างเหมาะสมด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง เด็กกับพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก หรือบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษาเพื่อให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ บรรลุตามปรัชญาการศึกษาปฐมวัยตามหลักการ
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาการที่คลอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกประการ ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล วิถีชีวิตของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมไทย พัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นและกิจกรรมบูรณาการ จัดประสบการณ์เรียนรู้ให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข และประสานความร่วมมือกันระหว่างครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก การเล่านิทานก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านต่าง ๆ ทั้งทักษะด้านภาษา การสื่อสาร ความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก ให้เด็ก
มีคุณธรรม จริยธรรม นิทานช่วยให้เด็กได้แสดงออก และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ฟังและผู้เล่า แม่กับลูก ครูกับศิษย์ การเล่านิทานเป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญและถ่ายทอดกันต่อไปได้ ดังนั้นเทคนิคการเล่าและการจัดทำสื่อประกอบการเล่านิทานจึงเป็นส่วนสำคัญที่ครู ผู้ปกครองควรได้ศึกษาและฝึกฝนให้เกิดทักษะ เพื่อนำมาใช้กับเด็กสร้างความสนใจให้เด็กอยากฟังและอ่านนิทาน ส่งผลต่อการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย ทำให้เด็กมีการพัฒนาในด้านต่างๆ เช่น ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สติปัญญา และสังคมอย่างเหมาะสม เจริญเติบโตอย่างสมวัยตลอดจนพัฒนาบุคลิกภาพและ ลักษณะนิสัยซึ่งจะมีผลต่อการเรียนรู้และการดำรงตนอยู่ในสังคมได้ในอนาคต
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร องค์การบริหารส่วนตำบลปะเหลียน จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการ
เรียนรู้ในเด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างสายใยสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ผู้ปกครอง และครู
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการที่ดีสมวัย
- เพื่อให้ผู้ปกครองและครูได้รับการพัฒนาเทคนิคการเล่าและสามารถเลือกนิทานที่ดีให้แก่เด็กได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อให้ผู้ปกครองและครูสามารถผลิตสื่อประกอบการเล่านิทานที่มีคุณค่าต่อเด็กและสามารถนำไปใช้ต่อยอด ในการเล่านิทานให้กับเด็กได้
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และชุมชนในการจัดการเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
75
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างเด็กกับครู และเกิดความรักความอบอุ่นในครอบครัว
- เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัยทุกด้าน
- ผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย
๔. ผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้
๕. เกิดความร่วมมือระหว่าง ผู้ปกครอง ชุมชน และสถานศึกษา ในการพัฒนาเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อสร้างสายใยสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ผู้ปกครอง และครู
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการที่ดีสมวัย
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้ผู้ปกครองและครูได้รับการพัฒนาเทคนิคการเล่าและสามารถเลือกนิทานที่ดีให้แก่เด็กได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อให้ผู้ปกครองและครูสามารถผลิตสื่อประกอบการเล่านิทานที่มีคุณค่าต่อเด็กและสามารถนำไปใช้ต่อยอด ในการเล่านิทานให้กับเด็กได้
ตัวชี้วัด :
0.00
5
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และชุมชนในการจัดการเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
75
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
75
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างสายใยสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ผู้ปกครอง และครู (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการที่ดีสมวัย (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและครูได้รับการพัฒนาเทคนิคการเล่าและสามารถเลือกนิทานที่ดีให้แก่เด็กได้อย่างเหมาะสม (4) เพื่อให้ผู้ปกครองและครูสามารถผลิตสื่อประกอบการเล่านิทานที่มีคุณค่าต่อเด็กและสามารถนำไปใช้ต่อยอด ในการเล่านิทานให้กับเด็กได้ (5) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และชุมชนในการจัดการเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-3-25
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวใยบัว หะหมาน ตำแหน่งครู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวใยบัว หะหมาน ตำแหน่งครู
สิงหาคม 2563
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-3-25 เลขที่ข้อตกลง 23/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 63-L1485-3-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.๒๕๔๖ มุ่งเน้นให้เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ
สังคม และสติปัญญา ที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เด็กทุกคนมีสิทธิได้รับการอบรมเลี้ยงดู และส่งเสริมพัฒนาการ ตลอดจนการเรียนรู้อย่างเหมาะสมด้วยปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง เด็กกับพ่อแม่ ผู้เลี้ยงดูเด็ก หรือบุคคลที่มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และให้การศึกษาเพื่อให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาตนเองตามลำดับขั้นของพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล เต็มศักยภาพ บรรลุตามปรัชญาการศึกษาปฐมวัยตามหลักการ
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ และพัฒนาการที่คลอบคลุมเด็กปฐมวัยทุกประการ ยึดหลักการอบรมเลี้ยงดูที่เน้นเด็กเป็นสำคัญ โดยคำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล วิถีชีวิตของเด็กตามบริบทสังคมวัฒนธรรมไทย พัฒนาเด็กโดยองค์รวมผ่านการเล่นและกิจกรรมบูรณาการ จัดประสบการณ์เรียนรู้ให้สามารถดำรงชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข และประสานความร่วมมือกันระหว่างครอบครัว ชุมชน และสถานศึกษาในการพัฒนาเด็ก การเล่านิทานก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยส่งเสริมพัฒนาการด้านต่าง ๆ ทั้งทักษะด้านภาษา การสื่อสาร ความฉลาดทางอารมณ์ของเด็ก ให้เด็ก
มีคุณธรรม จริยธรรม นิทานช่วยให้เด็กได้แสดงออก และสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้ฟังและผู้เล่า แม่กับลูก ครูกับศิษย์ การเล่านิทานเป็นสิ่งที่ทุกคนสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญและถ่ายทอดกันต่อไปได้ ดังนั้นเทคนิคการเล่าและการจัดทำสื่อประกอบการเล่านิทานจึงเป็นส่วนสำคัญที่ครู ผู้ปกครองควรได้ศึกษาและฝึกฝนให้เกิดทักษะ เพื่อนำมาใช้กับเด็กสร้างความสนใจให้เด็กอยากฟังและอ่านนิทาน ส่งผลต่อการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย ทำให้เด็กมีการพัฒนาในด้านต่างๆ เช่น ร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สติปัญญา และสังคมอย่างเหมาะสม เจริญเติบโตอย่างสมวัยตลอดจนพัฒนาบุคลิกภาพและ ลักษณะนิสัยซึ่งจะมีผลต่อการเรียนรู้และการดำรงตนอยู่ในสังคมได้ในอนาคต
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร องค์การบริหารส่วนตำบลปะเหลียน จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการ
เรียนรู้ในเด็กปฐมวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อสร้างสายใยสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ผู้ปกครอง และครู
- เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการที่ดีสมวัย
- เพื่อให้ผู้ปกครองและครูได้รับการพัฒนาเทคนิคการเล่าและสามารถเลือกนิทานที่ดีให้แก่เด็กได้อย่างเหมาะสม
- เพื่อให้ผู้ปกครองและครูสามารถผลิตสื่อประกอบการเล่านิทานที่มีคุณค่าต่อเด็กและสามารถนำไปใช้ต่อยอด ในการเล่านิทานให้กับเด็กได้
- เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และชุมชนในการจัดการเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 75 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันระหว่างเด็กกับครู และเกิดความรักความอบอุ่นในครอบครัว
- เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัยทุกด้าน
- ผู้ปกครองและครูมีทักษะในการเล่านิทานและสามารถเลือกนิทานให้กับเด็กได้เหมาะสมกับวัย ๔. ผู้ปกครองและครูมีสื่อประกอบการเล่านิทานและนำไปประกอบการเล่านิทานให้กับเด็กได้ ๕. เกิดความร่วมมือระหว่าง ผู้ปกครอง ชุมชน และสถานศึกษา ในการพัฒนาเด็ก
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อสร้างสายใยสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ผู้ปกครอง และครู ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการที่ดีสมวัย ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้ปกครองและครูได้รับการพัฒนาเทคนิคการเล่าและสามารถเลือกนิทานที่ดีให้แก่เด็กได้อย่างเหมาะสม ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อให้ผู้ปกครองและครูสามารถผลิตสื่อประกอบการเล่านิทานที่มีคุณค่าต่อเด็กและสามารถนำไปใช้ต่อยอด ในการเล่านิทานให้กับเด็กได้ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และชุมชนในการจัดการเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 75 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 75 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อสร้างสายใยสัมพันธ์ที่ดีระหว่างเด็ก ผู้ปกครอง และครู (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีนิสัยรักการอ่าน และมีพัฒนาการที่ดีสมวัย (3) เพื่อให้ผู้ปกครองและครูได้รับการพัฒนาเทคนิคการเล่าและสามารถเลือกนิทานที่ดีให้แก่เด็กได้อย่างเหมาะสม (4) เพื่อให้ผู้ปกครองและครูสามารถผลิตสื่อประกอบการเล่านิทานที่มีคุณค่าต่อเด็กและสามารถนำไปใช้ต่อยอด ในการเล่านิทานให้กับเด็กได้ (5) เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และชุมชนในการจัดการเรียนรู้ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสิรินธร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้ในเด็กปฐมวัย จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 63-L1485-3-25
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวใยบัว หะหมาน ตำแหน่งครู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......