กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง


“ โครงการเฝ้าระวังและพัฒนาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตง

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตง

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังและพัฒนาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60 – L7890-03-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 พฤษภาคม 2560 ถึง 16 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังและพัฒนาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังและพัฒนาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (2) ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแลเด็กผู้ดูแลเด็กผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การกินอาหารถูกต้องเหมาะสมและพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไปสู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน“โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ ทุกเพศ ทุกวัยทั้งเด็กวัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ฯโดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้านอาหารและภาวะโภชนาการที่ดีเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียนปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กโดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม จากข้อมูลภาวะทางโภชนาการของนักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงในปีการศึกษาที่ผ่านมา นักเรียนแรกเข้าจะมีภาวะทุพโภชนาการจำนวน 14 คน ซึ่งแบ่งเป็นนักเรียนที่มีภาวะอ้วน ท้วม เริ่มอ้วน จำนวน 7 คน นักเรียนที่มีภาวะผอมน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ค่อนข้างผอม จำนวน 7 คน นอกจากนี้พฤติกรรมการบริโภคอาหารเช้าของนักเรียนร้อยละ 50 ไม่ทานอาหารเช้ามาจากบ้านและมีบางส่วนที่นิยมมาซื้ออาหารเช้าที่ไม่มีประโยชน์รับประทานเช่นข้าวเหนียวหมูปิ้ง/ไก่ปิ้ง ข้าวเหนียวไก่ทอด ขนมเบเกอรี่ต่าง ๆ ในการนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตที่สำคัญของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและพัฒนาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
  2. ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  3. ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแลเด็กผู้ดูแลเด็กผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 12
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามทางโภชนาการ
    2. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
    3. ผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก 0 - 6 ปี

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.เก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะโภชนาการนักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เทศบาลตำบลพะตงได้สำรวจคัดกรองนักเรียนจากการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูงซึ่งมีนักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์จำนวน 12 คนติดตามชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูงทุกเดืินและแปลผลโดยใช้กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโตสำหรับเด็ก 0-6 ปี กรมอนามัย พบว่าคงเหลือนักเรียนที่มีปัญหาน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์จำนวน3คนจากนักเรียนที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์12คน 2.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ครูผู้ดูแลเด็กผู้ดูแลเด็กผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็กเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องและผู้ประกอบอาหารกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัยมีความรู้ความเข้าใจ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ข้อที่ 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์อายุ
    9.00

    นักเรียนน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์จำนวน12คน หลังทำโครงการ นน.ผ่านเกณฑ์ 9 คน คงเหลือ เด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 3 คน

    2 ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
    ตัวชี้วัด : 1. นักเรียนร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
    12.00

    จัดอาหารเช้าให้กับเด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์

    3 ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแลเด็กผู้ดูแลเด็กผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก
    ตัวชี้วัด : 1. ครูผู้ดูแลเด็กผู้ดูแลเด็กผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้ประกอบอาหารกลางวัน มีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก
    9.00

    ครูและผู้ดูแลเด็กจำนวน 9 คนได้รับความรู้

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 12 12
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 12 12
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงที่เสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ (2) ข้อที่ 2.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนภายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (3) ข้อที่ 3. เพื่อส่งเสริมให้ครูผู้ดูแลเด็กผู้ดูแลเด็กผู้ปฏิบัติหน้าที่ผู้ดูแลเด็ก เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและผู้ประกอบอาหารกลางวันในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตงมีความรู้ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็ก

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังและพัฒนาภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60 – L7890-03-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลพะตง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด