โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้ ”
ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา อินปาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้
ที่อยู่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3367-203 เลขที่ข้อตกลง 14/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3367-203 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด เปิดการเรียนการสอนระดับอนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีนักเรียนทั้งหมด จำนวน 142 คน จากการสำรวจปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียนในเดือนสิงหาคม่ 2562 พบว่ามีปัญหาด้านภาวะโภชนาการเกินหรืออ้วน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 12.68 นักเรียนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 9 คน ร้อยละ 6.34 กระจายอยู่ทุกชั้นเรียน
จากการสำรวจพฤติกรรมการออกกำลังกาย กินผักและผลไม้ในเดือนสิงหาคม 2562 พบว่า อาหารเช้ามีนักเรียน จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 25.35 ไม่ได้รับประทานอาหาร นักเรียน จำนวน 68 คน (ร้อยละ47.89)รับประทานอาหารที่บ้าน และนักเรียนส่วนใหญ่ จำนวน 38 คน (ร้อยลบะ 26376) ที่รับประทานอาหารที่ร้านค้าหรืออาหารที่แม่ค้าขาย
และนักเรียนขาดการออกกำลังกาย นักเรียนที่ทำงานบ้านลดน้อยลง การออกวิ่งเล่นนอกบ้านน้อยลง
ฉะนั้นโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดจึงเห็นความสำคัญเรื่องโภชนาการให้มีความเหมาะสมและพอดีกับความต้องการของร่างกายเพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและปรับเปลี่ยนให้นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีพฤติกรรมการรับประทาน ผัก และผลไม้ตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกเพิ่มมากขึ้น
- ลดจำนวนนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน
- เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อการเข้าถึงและการบริโภคผัก ผลไม้ปลอดภัย และการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สร้างความรู้ด้านภาวะโภชนาการแก่นักเรียน
- ส่งเสริมอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ
- ส่งเสริมการผลิตผักและผลไม้ในโรงเรียน
- ส่งเสริมการออกกำลังกายในโรงเรียน
- การติดตามพฤติกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
142
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารเพือสุขภาวะและมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมเพิ่มการบริโภคผักและผลไม้
2.นักเรียนมีสุขภาพกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.นักเรียน ป.1 -ม.3 ร้อยละ 100 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะและมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมเพิ่มการบริโภคผักและผลไม้
2.นักเรียน อ.2 - ม.3 ร้อยละ 100 มีอัตราการบริโภคผักและผลไม้ที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำตามช่วงวัยขององค์การอนามัยโลก
3.อัตราชุกของภาวะของน้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนของนักเรียน ชั้น อ.2 - ม.3 ร้อยละ 4.31
4.จัดบริการอาหารกลางวนที่ให้เด็กได้เข้าถึงปริมาณผักและผลไม้อย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกทุกวัน โดยให้โปรแกรม Thai School Lunch
5.จัดร้านค้าในโรงเรียนเป็นร้านค้าสีเขียว
6.จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเล่นของเด็กวัยเรียนและมีการจัดหาอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมกิจกรรมกีฬาและการออกกำลังกาย
7.จัดทำแปลงเกษตรที่บ้านและโรงเรียน เพื่อปลูกผักผลไม้ปลอดสารพิษ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างความตระหนักและปรับเปลี่ยนให้นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีพฤติกรรมการรับประทาน ผัก และผลไม้ตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกเพิ่มมากขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมและมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมเพิ่มการบริโภคผักและผลไม้
75.00
100.00
2
ลดจำนวนนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน
ตัวชี้วัด : อัตราน้ำหนักตัวเกินหรือโรคอ้วนในกลุ่มเป้าหมาย จำนวนน้อยกว่าร้อยละ 10
10.00
4.31
3
เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อการเข้าถึงและการบริโภคผัก ผลไม้ปลอดภัย และการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1.มีการจัดอาหารกลางวันอย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกทุกวัน
2.มีการปรับเปลี่ยนร้านค้าในโรงเรียนเป็นร้านค้าสีเขียว คือเพิ่มการจำหน่าวยผักผลไม้ ปราศจากขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลม
3.จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเล่นของเด็ก และจัดหาอุปกรณ์ส่งเสริมกิจกรรมกีฬาและออกกำลังกาย
4.จัดทำแปลงเกษตรที่บ้านและโรงเรียนเพื่อปลูกผักผลไม้ปลอดสารพิษ เพื่อให้นักเรียนสามารถเข้าถึงผักและผลไม้ได้ง่าย อย่างน้อย 10 แปลง
0.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
142
139
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
142
139
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักและปรับเปลี่ยนให้นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีพฤติกรรมการรับประทาน ผัก และผลไม้ตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกเพิ่มมากขึ้น (2) ลดจำนวนนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน (3) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อการเข้าถึงและการบริโภคผัก ผลไม้ปลอดภัย และการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างความรู้ด้านภาวะโภชนาการแก่นักเรียน (2) ส่งเสริมอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ (3) ส่งเสริมการผลิตผักและผลไม้ในโรงเรียน (4) ส่งเสริมการออกกำลังกายในโรงเรียน (5) การติดตามพฤติกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3367-203
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางกัลยา อินปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้ ”
ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางกัลยา อินปาน
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3367-203 เลขที่ข้อตกลง 14/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3367-203 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด เปิดการเรียนการสอนระดับอนุบาลถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีนักเรียนทั้งหมด จำนวน 142 คน จากการสำรวจปัญหาด้านสุขภาพของนักเรียนในเดือนสิงหาคม่ 2562 พบว่ามีปัญหาด้านภาวะโภชนาการเกินหรืออ้วน จำนวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 12.68 นักเรียนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 9 คน ร้อยละ 6.34 กระจายอยู่ทุกชั้นเรียน
จากการสำรวจพฤติกรรมการออกกำลังกาย กินผักและผลไม้ในเดือนสิงหาคม 2562 พบว่า อาหารเช้ามีนักเรียน จำนวน 36 คน คิดเป็นร้อยละ 25.35 ไม่ได้รับประทานอาหาร นักเรียน จำนวน 68 คน (ร้อยละ47.89)รับประทานอาหารที่บ้าน และนักเรียนส่วนใหญ่ จำนวน 38 คน (ร้อยลบะ 26376) ที่รับประทานอาหารที่ร้านค้าหรืออาหารที่แม่ค้าขาย
และนักเรียนขาดการออกกำลังกาย นักเรียนที่ทำงานบ้านลดน้อยลง การออกวิ่งเล่นนอกบ้านน้อยลง
ฉะนั้นโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ดจึงเห็นความสำคัญเรื่องโภชนาการให้มีความเหมาะสมและพอดีกับความต้องการของร่างกายเพื่อส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างความตระหนักและปรับเปลี่ยนให้นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีพฤติกรรมการรับประทาน ผัก และผลไม้ตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกเพิ่มมากขึ้น
- ลดจำนวนนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน
- เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อการเข้าถึงและการบริโภคผัก ผลไม้ปลอดภัย และการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- สร้างความรู้ด้านภาวะโภชนาการแก่นักเรียน
- ส่งเสริมอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ
- ส่งเสริมการผลิตผักและผลไม้ในโรงเรียน
- ส่งเสริมการออกกำลังกายในโรงเรียน
- การติดตามพฤติกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 142 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารเพือสุขภาวะและมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมเพิ่มการบริโภคผักและผลไม้ 2.นักเรียนมีสุขภาพกายที่แข็งแรงและสุขภาพจิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
1.นักเรียน ป.1 -ม.3 ร้อยละ 100 มีความรู้ในเรื่องการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาวะและมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมเพิ่มการบริโภคผักและผลไม้
2.นักเรียน อ.2 - ม.3 ร้อยละ 100 มีอัตราการบริโภคผักและผลไม้ที่ปลอดภัยอย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำตามช่วงวัยขององค์การอนามัยโลก
3.อัตราชุกของภาวะของน้ำหนักตัวเกินและโรคอ้วนของนักเรียน ชั้น อ.2 - ม.3 ร้อยละ 4.31
4.จัดบริการอาหารกลางวนที่ให้เด็กได้เข้าถึงปริมาณผักและผลไม้อย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกทุกวัน โดยให้โปรแกรม Thai School Lunch
5.จัดร้านค้าในโรงเรียนเป็นร้านค้าสีเขียว
6.จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเล่นของเด็กวัยเรียนและมีการจัดหาอุปกรณ์เพื่อส่งเสริมกิจกรรมกีฬาและการออกกำลังกาย
7.จัดทำแปลงเกษตรที่บ้านและโรงเรียน เพื่อปลูกผักผลไม้ปลอดสารพิษ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างความตระหนักและปรับเปลี่ยนให้นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีพฤติกรรมการรับประทาน ผัก และผลไม้ตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกเพิ่มมากขึ้น ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรมและมีแนวโน้มปรับพฤติกรรมเพิ่มการบริโภคผักและผลไม้ |
75.00 | 100.00 |
|
|
2 | ลดจำนวนนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน ตัวชี้วัด : อัตราน้ำหนักตัวเกินหรือโรคอ้วนในกลุ่มเป้าหมาย จำนวนน้อยกว่าร้อยละ 10 |
10.00 | 4.31 |
|
|
3 | เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อการเข้าถึงและการบริโภคผัก ผลไม้ปลอดภัย และการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน ตัวชี้วัด : 1.มีการจัดอาหารกลางวันอย่างเพียงพอตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกทุกวัน 2.มีการปรับเปลี่ยนร้านค้าในโรงเรียนเป็นร้านค้าสีเขียว คือเพิ่มการจำหน่าวยผักผลไม้ ปราศจากขนมกรุบกรอบและน้ำอัดลม 3.จัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเล่นของเด็ก และจัดหาอุปกรณ์ส่งเสริมกิจกรรมกีฬาและออกกำลังกาย 4.จัดทำแปลงเกษตรที่บ้านและโรงเรียนเพื่อปลูกผักผลไม้ปลอดสารพิษ เพื่อให้นักเรียนสามารถเข้าถึงผักและผลไม้ได้ง่าย อย่างน้อย 10 แปลง |
0.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 142 | 139 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 142 | 139 | |
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนักและปรับเปลี่ยนให้นักเรียนในโรงเรียนบ้านโหล๊ะเร็ด ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีพฤติกรรมการรับประทาน ผัก และผลไม้ตามเกณฑ์คำแนะนำขององค์การอนามัยโลกเพิ่มมากขึ้น (2) ลดจำนวนนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีภาวะน้ำหนักเกินหรือเป็นโรคอ้วน (3) เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่เอื้อต่อการเข้าถึงและการบริโภคผัก ผลไม้ปลอดภัย และการมีกิจกรรมทางกายของนักเรียน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สร้างความรู้ด้านภาวะโภชนาการแก่นักเรียน (2) ส่งเสริมอาหารกลางวันที่มีคุณภาพ (3) ส่งเสริมการผลิตผักและผลไม้ในโรงเรียน (4) ส่งเสริมการออกกำลังกายในโรงเรียน (5) การติดตามพฤติกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนด้วยการขยับและกินผักผลไม้ จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 63-L3367-203
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางกัลยา อินปาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......