กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกัน ระงับโรคติดต่อนำโดยยุงลาย ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ 2563
รหัสโครงการ 62-L5307-5-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 5 สนับสนุนกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มป้องกันควบคุมโรค ตำบลบ้านควน
วันที่อนุมัติ 1 มีนาคม 2563
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 31 ธันวาคม 2563
กำหนดวันส่งรายงาน 31 มกราคม 2564
งบประมาณ 72,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางฮอดีย๊ะ ตะหวัน
พี่เลี้ยงโครงการ นางสุภา นวลดุก นางสุกัญญา ลัสมาน
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 มี.ค. 2563 31 ธ.ค. 2563 72,000.00
รวมงบประมาณ 72,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 11107 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 จำนวนประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน)
33.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม- 1 ตุลาคม 2562ในพื้นที่เขต 12พบผู้ป่วย 7,333 ราย คิดเป็น 2.36 เท่า เมื่อเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันในปีที่ผ่านมา อัตราป่วย 147.48 ต่อประชากรแสนคน ผู้เสียชีวิต 3 ราย ของจังหวัดสตูล คิดเป็น 46.47 ต่อประชากรแสนคน (149 ราย) คิดเป็นลำดับที่ 74 ของประเทศ ในรายจังหวัดพบ อำเภอเมืองสตูลมีอัตราการป่วยเป็นอันดับที่ 3 ของสตูล จาก 7 อำเภอ พบผู้ป่วย 67 ราย อัตราป่วยคิดเป็น 58.69ต่อประชากรแสนคน สามสัปดาห์หลังสุด พบผู้ป่วยในพื้นที่อำเภอเมืองมากที่สุด จำนวน 7 ราย ตำบลบ้านควน พบผู้ป่วยเข้าข่าย จำนวน 32 ราย แต่รายงานผู้ป่วยทางระบาดวิทยาที่เข้าข่าย จำนวน 1 คน คิดอัตราป่วยเป็ย 9.00 ต่อประชากรแสนคน

แม้ในปีที่ผ่านมาจะพบการระบาดของโรคไข้เลือดออกน้อยกว่าปีอื่นๆ แต่โรคไข้เลือดออก และโรคไข้ปวดข้อ(ชิคุนกุนยา) โรคไวรัสซิก้าก็ยังเป็นโรคที่พบผู้ป่วยทุกปี จึงยังต้องมีมาตรการป้องกัน และระงับโรครับมือไว้อยู่เสมอจึงจำเป็นต้องมีมาตรการเฝ้าระวังป้องกันควบคุม เตรียมทั้งด้านงบประมาณ วัสดุอุปกรณ์ เพื่อความพร้อมในการดำเนินงาน กลุ่มป้องกันควบคุมโรคตำบลบ้านควน จึงขอแสนอโครงการป้องกันควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ตำบลบ้านควน ปีงบประมาณ2563 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย

อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ไม่เกิน 50 ต่อ แสนประชากร

9.00 5.00
2 เพื่อลดจำนวนประชากรยุงลายที่เป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา

พ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่ในสถานศึกษาอย่างน้อย 2 ครั้ง ต่อ ปี

0.00 2.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อป้องกันการระบาดของโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อลดจำนวนประชากรยุงลายที่เป็นสาเหตุของโรคไข้เลือดออกในสถานศึกษา

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

31 มี.ค. 63 - 31 ธ.ค. 63 ป้องกันและระงับโรคติดต่อนำโดยยุงลาย(พื้นที่ระบาดรัศมี 100 เมตร) 37,500.00 -
31 มี.ค. 63 - 31 ธ.ค. 63 ป้องกันและระงับโรคติดต่อนำโดยยุงลายอย่างเร่งด่วน (บ้านผู้ป่วย) 29,500.00 -
4 - 22 พ.ค. 63 สร้างการตื่นตัว ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร 5,000.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. สามารถควบคุมและระงับโรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย ไข้ไวรัสซิก้า ในพื้นที่ตำบลบ้านควนได้
  2. ประชาชนให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในครัวเรือน
  3. ลดจำนวนผู้ป่วยในสถานศึกษาของพื้นที่ตำบลบ้านควน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 2563 00:00 น.