กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู


“ โครงการNo Foam No Plastic For Food ประจำปีงบประมาณ 2563 ”

อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งเเวดล้อม เทศบาลตำบลปะลุรู

ชื่อโครงการ โครงการNo Foam No Plastic For Food ประจำปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8369-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 พฤษภาคม 2563 ถึง 4 พฤษภาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการNo Foam No Plastic For Food ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการNo Foam No Plastic For Food ประจำปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการNo Foam No Plastic For Food ประจำปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8369-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 พฤษภาคม 2563 - 4 พฤษภาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมเศรษฐกิจในปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปหลายๆด้านประชาชนต้องการความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น ส่งผลให้การประกอบอาหารด้วยตนเองลดน้อยลง ประชาชนหันมาพึ่งพาร้านอาหารแผงลอยจำหน่ายอาหาร และร้านค้าแทน ซึ่งพบว่า ผู้ประกอบการร้านค้าหันมาใช้โฟมและถุงพลาสติกบรรจุอาหารกันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสะดวก ราคาถูกและหาซื้อได้ง่าย โฟมและถุงพลาสติกมีสารพิษสำคัญที่ก่อให้เกิดโรคมะเร็ง คือ สารสไตรีน (styrene)เบนซิน (Benzene)ไวนิลคลอไรด์ (vinylchloride) สารมอนอเมอร์ (monomer) และสารไดออกซิน (dioxins)ที่มีส่วนในการทำลายไขกระดูก ทำลายตับ และไต มีผลต่อประสาทส่วนกลางและส่วนปลายที่ทำให้การเคลื่อนไหวและการทรงตัวไม่ดี ความจำเสื่อม สมาธิสั้น และเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ หากได้รับสารเหล่านี้เข้าไปในร่างกายเป็นเวลานานจะก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งต่างๆ จึงทำให้พบพิษภัยสารเคมีที่เป็นอันตรายปนเปื้อนแฝงมากับอาหารสู่ผู้บริโภคผ่านภาชนะบรรจุอาหารประเภทโฟมและถุงพลาสติกได้อย่างง่ายดาย อีกทั้งโฟมและถุงพลาสติกก็ยังส่งผลกระทบก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม จากการสำรวจปริมาณขยะปี 2561ของกรมควบคุมมลพิษ พบว่ามีปริมาณขยะมูลฝอยประมาณ 27.8 ล้านตันเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.64 เมื่อเทียบกับปี 2560 ที่มีปริมาณ 27.37 ล้านตันโดยมีขยะประเภทโฟมถึง 700, 000 ตัน ซึ่งขยะประเภทโฟมมีปริมาณเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จาก 34 ล้านใบต่อวันเป็น 61 ล้านใบต่อวัน หรือเพิ่มขึ้นเฉลี่ย 1 ใบต่อคนต่อวัน โดยเฉพาะในสถานที่หรือในเขตที่มีประชาชนอาศัยอยู่จำนวนมาก ซึ่งขยะประเภทโฟมที่มีความคงทน ใช้เวลาในการย่อยสลายนานกว่า 100 ปีหรือไม่ย่อยสลาย ส่วนขยะประเภทถุงพลาสติกมีจำนวนมากกว่า2 ล้านตันขณะเดียวกันไทยติดอันดับ 6 ที่มีขยะพลาสติกลงสู่ทะเลและถุงพลาสติกยังใช้เวลาในการย่อยสลายนานมากกว่า 450 ปี จึงสร้างปัญหาในการกำจัด เนื่องจากต้องใช้พลังงาน ต้นทุนการกำจัดสูงเปลืองพื้นที่ฝั่งกลบ และกระบวนการกำจัดขยะโฟมและถุงพลาสติกที่ทำให้เกิดมลพิษสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนและยังส่งผลให้เกิดภาวะโลกร้อนได้อีกด้วย จากปัญหาดังกล่าวเทศบาลตำบลปะลุรูได้เชิญชวนประชาชนในเขตเทศบาลตำบลปะลุรูร่วมรณรงค์ลด ละ เลิก การใช้ภาชนะโฟมและถุงพลาสติกบรรจุอาหารและมาเลือกใช้ภาชนะบรรจุอาหารที่ปลอดภัยทดแทน เทศบาลตำบลปะลุรูจึงได้จัดทำโครงการ No Foam No Plastic For Foodขึ้นเพื่อสุขภาพที่ดีของประชาชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลปะลุรู ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมและถุงพลาสติก
  2. เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนหันมาใช้ภาชนะที่บรรจุอาหารที่ปลอดภัยแทนโฟมและใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก
  3. เพื่อลดปริมาณขยะกล่องโฟมและถุงพลาสติกในเขตเทศบาลตำบลปะลุรูให้มีปริมาณลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหารและถุงพลาสติก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าอบรมตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมและถุงพลาสติก
    1. ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลปะลุรูได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัย
    2. ขยะในเขตเทศบาลตำบลปะลุรูมีปริมาณลดน้อยลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลปะลุรู ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมและถุงพลาสติก
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมมีตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมและถุงพลาสติก
0.00

 

2 เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนหันมาใช้ภาชนะที่บรรจุอาหารที่ปลอดภัยแทนโฟมและใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก
ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนหันมาใช้ภาชนะที่บรรจุอาหารที่ปลอดภัยแทนโฟมและใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติกร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อลดปริมาณขยะกล่องโฟมและถุงพลาสติกในเขตเทศบาลตำบลปะลุรูให้มีปริมาณลดลง
ตัวชี้วัด : 3. ขยะในเขตเทศบาลตำบลปะลุรูลดลงร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในเขตเทศบาลตำบลปะลุรู ตระหนักถึงอันตรายจากการใช้โฟมและถุงพลาสติก (2) เพื่อรณรงค์ให้ประชาชนหันมาใช้ภาชนะที่บรรจุอาหารที่ปลอดภัยแทนโฟมและใช้ถุงผ้าแทนถุงพลาสติก (3) เพื่อลดปริมาณขยะกล่องโฟมและถุงพลาสติกในเขตเทศบาลตำบลปะลุรูให้มีปริมาณลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องอันตรายจากการใช้โฟมบรรจุอาหารและถุงพลาสติก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการNo Foam No Plastic For Food ประจำปีงบประมาณ 2563 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8369-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งเเวดล้อม เทศบาลตำบลปะลุรู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด