กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองมาบตาพุด


“ โครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้ ”

อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเอียดศิริ เรืองภักดี

ชื่อโครงการ โครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้

ที่อยู่ อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง จังหวัด ระยอง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 31 มีนาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้ จังหวัดระยอง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองมาบตาพุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้



บทคัดย่อ

โรคซึมเศร้า เป็นกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติของสมองที่มีผลกระทบต่อความนึกคิดอารมณ์ ความรู้สึก พฤติกรรมและสุขภาพกายแต่คนส่วนใหญ่มักคิดว่าโรคซึมเศร้าเป็นผลมาจากความผิดปกติของจิตใจสามารถแก้ไขให้หายได้ด้วยตนเอง โรคนี้เป็นโรคที่มีความสำคัญและร้ายแรงในระดับโลก ส่งผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ทุกด้านซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้อาจบั่นทอนช่วงระยะเวลาของการมีชีวิตให้สั้นลง จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกคาดการณ์ภาวะของโรคโดยวัดความสูญเสียเป็นจำนวนปีที่ดำรงชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาพที่ดี พบว่าภายในปี 2563โรคซึมเศร้าจะก่อให้เกิดให้เกิดความสูญเสียเป็นอันดับที่ 2รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด(กระทรวงสาธารณสุข,2559) ซึ่งจัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ   จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทยกรมสุขภาพจิตรายงานว่ามีผู้ป่วยร้อยละ๕ ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ ๓ล้านคนและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆแต่ในปัจจุบันพบว่าคนไทยยังมีความรู้ความเข้าใจในโรคนี้น้อยและมักจะมีทัศนคติในทางลบคิดว่าเป็นโรคจิตหรือบ้า ทำให้ไม่กล้ามารับการรักษาจึงพบว่ามีการอัตราการเข้าถึงบริการและรับการรักษามีเพียงร้อยละ42.46 เท่านั้น ผู้ที่มีโรคทางกายเรื้อรังที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดไปก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดความเครียดและวิตกกังวลหากผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับความเครียดและความวิตกกังวลได้จะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตที่รุนแรงขึ้น เกิดความท้อแท้สิ้นหวัง เบื่อหน่าย จนนำไปสู่โรคซึมเศร้าได้ ดังนั้นการให้ความรู้กับผู้ที่มีโรคทางกายเรื้อรัง และบุคคลในครอบครัวจึงเป็นการป้องกันด่านแรกในการรับมือกับโรคซึมเศร้ากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองมาบตาพุดดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในการสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการสาธารณสุขฉะนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเกาะกก กลุ่มงานศูนย์บริการสาธารณสุขสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองมาบตาพุด มีภารกิจในการดูแลสุขภาพประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่เทศบาลเมืองมาบตาพุด จึงได้จัดทำโครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขในพื้นที่ให้มีคุณภาพประชาชนเข้าถึงการให้บริการและมีความพึงพอใจโดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน ควบคุมโรค โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า (3) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2) มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคซึมเศร้า (3) ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรจัดอย่างต่อเนื่อง และประเมินผลอย่างทันท่วงที

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทยกรมสุขภาพจิตรายงานว่ามี ผู้ป่วยร้อยละ๕ ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ ๓ ล้านคนและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆแต่ในปัจจุบันพบว่าคนไทย ยังมีความรู้ความเข้าใจในโรคนี้น้อยและมักจะมีทัศนคติในทางลบ คิดว่าเป็นโรคจิตหรือบ้า ทำให้ไม่กล้ามารับการรักษาพบว่ามีการอัตราการเข้าถึงบริการและรับการรักษามีเพียงร้อยละ42.46 เท่านั้น ผู้ที่มีโรค ทางกายเรื้อรังที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดไป ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ ยงได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดความเครียดและวิตกกังวล หากผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับความเครียดและความวิตกกังวลได้ จะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตที่รุนแรงขึ้น เกิดความท้อแท้ สิ้นหวัง เบื่อหน่าย จนนำไปสู่โรคซึมเศร้าได้ ดังนั้นการให้ความรู้กับผู้ที่มีโรคทางกายเรื้อรัง และบุคคล ในครอบครัวจึงเป็นการป้องกันด่านแรกในการรับมือกับโรคซึมเศร้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
  3. เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคซึมเศร้า
  2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 430
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น ผู้เข้ารับการอบรมได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ผู้เข้ารับการอบรมที่พบความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางการดูแล


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า

วันที่ 1 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้าในประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 416 คนได้รับการคัดกรองตามแบบประเมินภาวะซึมเศร้า ตามแนวทางของกรมสุขภาพจิตจำนวน 356 คน คิดเป็นร้อยละ 85.58 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนดข้างต้น

 

0 0

2. อบรมให้ความรู้เรื่องโรคซึมเศร้า

วันที่ 5 มีนาคม 2564

กิจกรรมที่ทำ

ลงทะเบียนคัดกรองผู้เข้ารับการอบรม บรรยายเรื่องความหมายของโรคซึมเศร้าและอาการแสดงการดูแลและรักษาโรคซึมเศร้าบทบาทของญาติในการดูแลผู้ป่วยโรคซึมเศร้า

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ร้อยละ 80 ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80ของผู้เข้ารับการอบรมได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 90ของผู้เข้ารับการอบรมที่พบความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางการดูแล

 

430 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ในการจัดการอบรมได้มีการประเมินความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง โรคซึมเศร้า โดยการทดสอบวัดผลทั้งก่อนและหลังอบรม ซึ่งผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 416 คน มีความรู้ ความเข้าใจเพิ่มขึ้น 393 คน คิดเป็นร้อยละ 94.47 โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนการอบรม 6.8 คะแนน และ หลังการอบรมมีคะแนนเฉลี่ย 8.5 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10 คะแนน แสดงว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 416 คนได้รับการคัดกรองตามแบบประเมินภาวะซึมเศร้า ตามแนวทางของกรมสุขภาพจิตจำนวน 356 คน คิดเป็นร้อยละ 85.58 ซึ่งผ่านเกณฑ์ที่กำหนดข้างต้น ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการอบรมที่ได้รับการคัดกรองและประเมินภาวะซึมเศร้าตา มแบบประเมิน ของกรมสุขภาพจิต วิเคราะห์คะแนนประเมินภาวะซึมเศร้า พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมจำนวน 356 คน มีคะแนนประเมินภาวะซึมเศร้าอยู่ในระดับปกติ ไม่เป็นโรคซึมเศร้าจำนวน 353 คน คิดเป็นร้อยละ 99.15.และพบผู้ที่มีความเสี่ยงหรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้าจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.85 ซึ่งได้ให้คำแนะนำรายบุคคลโดยส่งปรึกษานักจิตวิทยาและส่งต่อเพื่อรับ การรักษาตามแนวทางปฏิบัติการดูแลรักษา โรคซึมเศร้าจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 100

  1. ด้านทัศนคติและความพึงพอใจ ผลลัพธ์ ผู้เข้ารับการอบรมมีความสนใจในการฟังบรรยาย

มีการร่วมซักถาม แสดงความคิดเห็นและมีส่วนร่วมในการอบรมเป็นอย่างดี จากการประเมินความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมพบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีระดับความพึงพอใจโดยรวมคิดเป็นร้อยละ 89.40 หัวข้อที่ผู้เข้ารับการอบรม มีระดับความพึงพอใจมากที่สุดคือ วิทยากรมีความรู้และถ่ายทอดความรู้ได้ชัดเจน มีระดับความพึงพอใจ ร้อยละ 91.40 รองลงมาคือเรื่องที่ใช้ในการอบรมมีความน่าสนใจร้อยละ 91.00 หัวข้อที่ผู้เข้ารับการอบรม มีระดับความพึงพอใจน้อยที่สุดคือ สถานที่ที่ใช้ในการอบรม มีระดับความพึงพอใจร้อยละ 87.60 เนื่องจากเป็นการจัดอบรมในบริเวณคลินิกโรคเรื้อรังของศูนย์บริการสา ธารณสุขแต่ละแห่ง สถานที่ไม่เป็นสัดส่วน และมีผู้รับบริการทั่วไปเดินผ่านไปมา ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมขาดความต่อเนื่องในการรับข้อมูล

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า
80.00 85.58

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ80ของผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าเพิ่มขึ้น
42.00 80.00 94.47

 

3 เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : ร้อยละ90ของผู้เข้ารับการอบรมที่พบความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาตามแนวทางการดูแล
90.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 430
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 430
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โรคซึมเศร้า เป็นกลุ่มอาการที่มีความผิดปกติของสมองที่มีผลกระทบต่อความนึกคิดอารมณ์ ความรู้สึก พฤติกรรมและสุขภาพกายแต่คนส่วนใหญ่มักคิดว่าโรคซึมเศร้าเป็นผลมาจากความผิดปกติของจิตใจสามารถแก้ไขให้หายได้ด้วยตนเอง โรคนี้เป็นโรคที่มีความสำคัญและร้ายแรงในระดับโลก ส่งผลกระทบต่อชีวิต ความเป็นอยู่ทุกด้านซึ่งหากปล่อยทิ้งไว้อาจบั่นทอนช่วงระยะเวลาของการมีชีวิตให้สั้นลง จากการศึกษาขององค์การอนามัยโลกคาดการณ์ภาวะของโรคโดยวัดความสูญเสียเป็นจำนวนปีที่ดำรงชีวิตอยู่อย่างมีสุขภาพที่ดี พบว่าภายในปี 2563โรคซึมเศร้าจะก่อให้เกิดให้เกิดความสูญเสียเป็นอันดับที่ 2รองจากโรคหัวใจและหลอดเลือด(กระทรวงสาธารณสุข,2559) ซึ่งจัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศ   จากสถานการณ์โรคซึมเศร้าในประเทศไทยกรมสุขภาพจิตรายงานว่ามีผู้ป่วยร้อยละ๕ ของประชากรทั้งหมด หรือประมาณ ๓ล้านคนและมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆแต่ในปัจจุบันพบว่าคนไทยยังมีความรู้ความเข้าใจในโรคนี้น้อยและมักจะมีทัศนคติในทางลบคิดว่าเป็นโรคจิตหรือบ้า ทำให้ไม่กล้ามารับการรักษาจึงพบว่ามีการอัตราการเข้าถึงบริการและรับการรักษามีเพียงร้อยละ42.46 เท่านั้น ผู้ที่มีโรคทางกายเรื้อรังที่ต้องใช้ระยะเวลานานในการดูแลรักษาต่อเนื่องตลอดไปก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยอย่างไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ส่งผลให้ผู้ป่วยเกิดความเครียดและวิตกกังวลหากผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับความเครียดและความวิตกกังวลได้จะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตที่รุนแรงขึ้น เกิดความท้อแท้สิ้นหวัง เบื่อหน่าย จนนำไปสู่โรคซึมเศร้าได้ ดังนั้นการให้ความรู้กับผู้ที่มีโรคทางกายเรื้อรัง และบุคคลในครอบครัวจึงเป็นการป้องกันด่านแรกในการรับมือกับโรคซึมเศร้ากองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองมาบตาพุดดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติในการสนับสนุนการจัดบริการของหน่วยบริการสาธารณสุขฉะนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุขเกาะกก กลุ่มงานศูนย์บริการสาธารณสุขสำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลเมืองมาบตาพุด มีภารกิจในการดูแลสุขภาพประชาชนทุกกลุ่มวัยในพื้นที่เทศบาลเมืองมาบตาพุด จึงได้จัดทำโครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขในพื้นที่ให้มีคุณภาพประชาชนเข้าถึงการให้บริการและมีความพึงพอใจโดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพและป้องกัน ควบคุมโรค โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า (3) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองภาวะซึมเศร้า (2) มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคซึมเศร้า (3) ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรคซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรจัดอย่างต่อเนื่อง และประเมินผลอย่างทันท่วงที

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้

ระยะเวลาโครงการ 1 ตุลาคม 2562 - 31 มีนาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ประเมินผล และติดตาม

สรุปผลโครงการ

ดำเนินการต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

ประเมินผลโครงการ

สรุปผลโครงการ

ดำเนินการต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

ประสานงานกับสหวิชาชีพในระบบและนอกระบบ

โครงสร้างการประสานงาน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการโรคซึมเศร้ารู้ทันป้องกันได้ จังหวัด ระยอง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเอียดศิริ เรืองภักดี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด