กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี ๒๕๖๓ ”
ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอมรรัตน์ ไข่เศษ




ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี ๒๕๖๓

ที่อยู่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3348-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 29 มกราคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี ๒๕๖๓



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี ๒๕๖๓ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 63-L3348-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 29 มกราคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของประเทศไทย มะเร็งที่พบมากในเพศหญิงคือ มะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก ตามลำดับ พบช่วงอายุ ๓๐ ปีขึ้นไป แต่อาจพบได้ในคนที่อายุน้อย เช่น ๒๐ ปี โดยผู้ป่วยส่วนใหญ่มีประวัติการมีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย มีคู่นอนหรือมีสามีหลายคน หรือมีสามีที่มีความสำส่อนทางเพศ ซึ่งจะทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสเอชพีวี (HPV) ที่เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญต่อการเกิดมะเร็งปากมดลูกได้ การป้องกันตัวเองจากมะเร็งปากมดลูกสำหรับเพศหญิงที่มีเพศสัมพันธ์แล้ว และยังไม่เคยมีเพศสัมพันธ์เริ่มตรวจได้ตั้งแต่อายุ ๓๐ ปีขึ้นไป โดยการตรวจแปปสเมียร์ (Pap test) ร่วมกับการตรวจหาเชื้อ HPV ส่วนเพศหญิงที่ยังไม่มีเพศสัมพันธ์ที่มีอายุตั้งแต่ ๙ – ๒๖ ปี ควรฉีดวัคซีนเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันสำหรับต่อต้านเชื้อ HPV ก่อนมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรก     จากข้อมูลจากสถิติสาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข ปี ๒๕๖๑ สถานการณ์โรคมะเร็งในภาคใต้พบว่ามีผู้ป่วยโรคมะเร็งรายใหม่จำนวน ๑๐,๓๒๒ รายต่อปี แบ่งเป็น เพศชาย ๔,๕๓๕ รายต่อปี เพศหญิง ๕,๗๘๘ รายต่อปี พบว่าเพศหญิงป่วยโรคมะเร็งเต้านมรายใหม่ ๙๐๑ รายต่อปี รองลงมาคือมะเร็งปากมดลูก จำนวน ๗๓๘ รายต่อปี เมื่อประมาณการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งในแต่ละปี พบว่าในภาคใต้มีผู้เสียชีวิตด้วยโรคมะเร็ง จำนวน ๗,๐๑๘ รายต่อปี จากผลการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล    บ้านทุ่งชุมพล พ.ศ. ๒๕๕๘ – พ.ศ. ๒๕๖๒ ในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุตั้งแต่ ๓๐ - ๖๐ ปี พบว่าได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ๔๙๖ ราย จากจำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ทั้งหมด ๗๓๓ ราย คิดเป็นร้อยละ ๖๗.๖๗ ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์และผลการคัดกรองมะเร็งเต้านมในสตรีที่มีอายุ ๓๐ - ๗๐ ปี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จำนวน ๘๓๔ ราย จากจำนวนทั้งหมด ๘๗๔ ราย คิดเป็นร้อยละ ๙๕.๗๗ พบผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก ๒ ราย ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ๒ ราย ดังนั้น เพื่อให้ประชาชนได้ตระหนักถึงความสำคัญและอันตรายของโรค โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งชุมพล จึงได้ดำเนินการโครงการป้องกันและควบคุมมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี ๒๕๖๓ โดยจัดอบรมให้ความรู้ตรวจคัดกรองค้นหามะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม แก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีอายุตั้งแต่ ๓๐ – ๖๐ ปี เพื่อให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ได้รับการดูแลตามมาตรฐานและได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รู้จักป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงปัจจัยต่างๆที่จะทำให้เกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และสามารถตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมผิดปกติ ทุกคนได้รับการส่งต่อ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ เรื่อง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รู้จักป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงปัจจัยต่างๆที่จะทำให้เกิด โรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ ๒. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และสามารถตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง ๓. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมผิดปกติ ทุกคนได้รับการส่งต่อ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รู้จักป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงปัจจัยต่างๆที่จะทำให้เกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม รู้จักป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงปัจจัยต่างๆ
1.00

 

2 สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม และสามารถตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
1.00

 

3 สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมผิดปกติ ทุกคนได้รับการส่งต่อ
ตัวชี้วัด : สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมผิดปกติ ได้รับการส่งต่อร้อยละ ๑๐๐
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม  รู้จักป้องกันตนเองและหลีกเลี่ยงปัจจัยต่างๆที่จะทำให้เกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ (2) สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม  และสามารถตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้อง (3) สตรีกลุ่มเป้าหมายที่มีผลการตรวจมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมผิดปกติ ทุกคนได้รับการส่งต่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ เรื่อง มะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี ๒๕๖๓ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 63-L3348-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอมรรัตน์ ไข่เศษ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด