กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง


“ พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง โตอย่างมีสุขภาพ บ้านปะกาลือสง ปี 63 ”

ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ชมรมคนรักกีฬา ม.6 บ้านปะกาลือสง

ชื่อโครงการ พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง โตอย่างมีสุขภาพ บ้านปะกาลือสง ปี 63

ที่อยู่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง โตอย่างมีสุขภาพ บ้านปะกาลือสง ปี 63 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง โตอย่างมีสุขภาพ บ้านปะกาลือสง ปี 63



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง โตอย่างมีสุขภาพ บ้านปะกาลือสง ปี 63 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตุยง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3065-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตุยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆในชีวิตประจำวันเป็นปัจจัยหลักในการใช้ชีวิตของคนส่วนมากในพื้นที่สัมพันธภาพในครอบครัว ความอบอุ่น ขาดหายไปโดยไม่รู้ตัว ลืมในเรื่องของการดูแลสุขภาพ มองข้ามในเรื่องของภัยมืดที่คุกคามสุขภาพ เช่น ครอบครัวขาดความอบอุ่น การระบายยาเสพติดในพื้นที่ เด็กมีภาวะอ้วนเพิ่มขึ้น สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ ปริมาณขยะที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี เป็นต้น ปัญหาดังกล่าวข้างต้น เป็นหน้าที่ของทุกคนที่จะต้องรับผิดชอบร่วมกัน ต้องช่วยกันป้องกันและแก้ไข ทางชมรมตาดีกา หมู่ 6 ปะกาลือสง มีหน้าที่โดยตรงในการอบรม สั่งสอน อบรมจริยธรรมให้แก่เยาวชนในพื้นที่ เห็นควรว่าการป้องกันปัญหาข้างต้นโดยเฉพาะปัญหาที่จะเกิดหรือเกิดขึ้นแล้วกับเด็กในวัยเรียน ต้องได้รับการแก้และขับเคลื่อนในการป้องกันตั้งแต่ที่ยังป็นเด็กอย่างต่อเนื่อง ทางชมรมได้มีกิจกรรมขับเคลื่อนมาตลอดทุกปีโดยหาผู้สนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการจากภาคเอกชน ประชาชนในพื้นที่ เพื่อจะได้เพราะองค์ความรู้ ทัศนคติ และปลูกจิตสำนึกที่ดีตั้งแต่เยาว์วัย มองเห็นว่าในขณะนี้เด็กในพื้นที่มีภาวะเสี่ยงอ้วน เนื่องจากกินขนมประเภทแป้ง น้ำตาล เยอะ เด็กขาดทักษะชีวิต เด็กมีความก้าวร้าวเนื่องจากสื่อออนไลน์ต่างๆ จากเหตุผลดังกล่าวทางชมรมตาดีกา หมู่ 6 ปะกาลือสง มองเห็นว่าถ้าได้มีการส่งเสริมจัดกิจกรรมให้เด็กๆได้มารวมกลุ่มน่าจะเป็นสิ่งที่ดี จึงได้จัดทำโครงการของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตุยงเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้รับความรู้ และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อไปต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน
  2. เพื่อให้เด็กละเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน
  2. พัฒนาองค์ความรู้
  3. ส่งเสริมการขยับ เคลื่อนไหวทางกาย
  4. ถอดบทเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนในพื้นที่มีความตระหนักให้ความสำคัญกับการออกกำลังกายหรือกิจกรรมทางกาย
    1. มีการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง ใส่ใจในการดูแลสุขภาพมากขึ้น ส่งผลให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง
    2. เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องสุขภาพเพิ่มขึ้น เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ มีภูมิคุ้มกันที่ดี เกิดชุมชนแข็งแรงยั่งยืนในอนาคต
    3. เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ร่างกายแข็งแรง มีพัฒนาการทางร่างกายและการเรียนรู้ปกติ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ส่งเสริมการขยับ เคลื่อนไหวทางกาย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ส่งเสริมให้เยาวชนในพื้นที่เข้าร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกายในยามเย็น โดยมีการจัดกิจกรรมตลอดทั้งปี เมื่อเลิกเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชนในพื้นที่เข้าร่่วมกิจกรรมส่งผลให้เยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพสุขภาพแข็งแรง ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

 

50 0

2. กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน

วันที่ 1 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่ เพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินงานพร้อมชี้แจงโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่ มีความเข้าใจในกิจกรรมโครงการ
  • เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างชมรม ผู้ปกครอง และเครือข่ายสุขภาพ

 

20 0

3. พัฒนาองค์ความรู้

วันที่ 15 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “อยู่อย่างไรกับวัยเรียน เพื่อสุขภาพอันพึงประสงค์”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • เยาวชนหรือเด็กวัยเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการใช้ชีวิตประจำวัน
  • ร้อยละ 100 ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน
  • ร้อยละ 100 ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มีสุขภาพร่างกายจิตใจแข็งแรง

 

50 0

4. ถอดบทเรียน

วันที่ 30 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินงานกิจกรรมทั้งหมดเพื่อรายงายผลต่อคณะกรรมการกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีรายงานสรุปผลการดำเนินงาน 1 เล่ม ส่งคณะกรรมการกองทุนฯ

 

5 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สรุป จากการดำเนินงานโครงการ ตามวัตถุประสงค์โครงการดังนี้ 1.1 เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้รับความรู้ และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อไปต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน 1.2 เพื่อให้เด็กละเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์โครงการจึงได้ดำเนินการตามแผนการดำเนินงานดังนี้ 1. ประชุมคณะกรรมการชมรมร่วมกับภาคีเครือข่ายสุขภาพดังนี้
  - จัดประชุมในวันที่ 1 กันยายน 2563 เพื่อวางแผนการดำเนินงาน การจัดกิจกรรมต่างๆให้สอดคล้องกับเวลา ที่เยาวชนหรือเด็กที่อยู่ในวัยเรียนว่าง เวลาที่เหมาะสมในการจัดอบรม มีผู้เข้าร่วมประชุม 20 คน 2. จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “อยู่อย่างไรกับวัยเรียน เพื่อสุขภาพอันพึงประสงค์”   - จัดอบรมกลุ่มเด็กเยาวชนที่อยู่ในวัยเรียน ระดับประถมศึกษา ในพื้นที่และพื้นที่ใกล้เคียง จำนวน 50 คน ในวันที่ 15 กันยายน 2563 เพื่อให้เยาวชนได้มีความรู้ มีภูมิคุ้มกันในการดำรงชีวิตที่ต้องก้าวให้ทันกับเหตุการณ์ การพัฒนาด้านสื่อและเทคโนโลยี ให้ทันกับกระแสการบริโภคด้านต่างๆ การปฏิบัติตัวเพื่อเป็นเด็กที่ดี เป็นที่รักของบิดา มารดา ผู้ปกครอง การบริโภคอาหารให้เหมาะสมกับวัย การปฏิบัติตัวเพื่อให้มีสุขภาพที่ดีเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ   - จากการอบรมพบว่า เยาวชนมีความตั้งใจ ในการเรียนรู้ มีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 100
    3. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กและเยาวชน(บูรณาการ การเล่นกีฬาฟุตบอล วอลเลย์บอล แชร์บอล ตะกร้อ และอื่นๆ) ส่งเสริมกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกาย โดยได้มีการจัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางกายในยามเย็นในกลุ่มเด็กวัยเรียน มีการบูรณาการ เล่นกีฬาประเภทต่าง เช่น การเล่นฟุตบอล วอลเลย์บอล แชร์บอล และตะกร้อ ฯลฯ เพื่อให้เด็กๆได้มีทักษะในกีฬาดังกล่าว ช่วยให้เด็กได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ มีสุขภาพร่างกาย จิตใจที่แข็งแรง เติบโตอย่างมีคุณภาพ

2. ผลสัมฤทธิ์ตามวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1 การบรรลุตามวัตถุประสงค์ /• บรรลุตามวัตถุประสงค์ • ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ เพราะ ............................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................ 2.2 จำนวนผู้เข้าร่วมใน แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ...ทั้งหมด.........80...............................................คน 3. การเบิกจ่ายงบประมาณ งบประมาณที่ได้รับการอนุมัติ ...............12,000........... บาท งบประมาณเบิกจ่ายจริง ...............12,000........... บาท  คิดเป็นร้อยละ ......100.......... งบประมาณเหลือส่งคืนอบต. ...........................0........... บาท  คิดเป็นร้อยละ .............0.........
   


    ตามรายละเอียดดังนี้ 1. ประชุมเครือข่ายสร้างสุขภาพในพื้นที่
          - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 20 คน        เป็นเงิน  500  บาท 2. จัดอบรมหัวข้อเรื่อง “อยู่อย่างไรกับวัยเรียน เพื่อสุขภาพอันพึงประสงค์”           - ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x 50 คน              เป็นเงิน  3,000  บาท           - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 35 บาท x 2 มื้อ x 50 คน    เป็นเงิน  3,500  บาท
          - ค่าวิทยากร 500 บาท x 4 ชม.                  เป็นเงิน  2,000  บาท     3. จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหว ขยับกายในยามเย็น           - ค่าวัสดุ อุปกรณ์ 3,000 บาท (ลูกฟุตบอล ลูกวอลเล่ย์ ลูกตะกร้อ ลูกแชร์บอล อื่นๆ)
                                      รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  12,000 บาท
4. ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน • ไม่มี     /• มี ปัญหา/อุปสรรค - การระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 19 ส่งผลให้แผนการดำเนินงาน กิจกรรม ช้าตามกำหนด - ความไม่ตรงต่อเวลาของกลุ่มเป้าหมาย
- ประชาชนในพื้นที่เห็นปากท้องเป็นเรื่องสำคัญกว่าสุขภาพ ดังนั้นไม่ค่อยเห็นถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ - ผู้ปกครองเด็กส่วนใหญ่ทำงานในประเทศเพื่อนบ้าน ทิ้งลูกให้อยู่ตามลำพังกับปู่ ย่า ตา ยาย หรือผู้ดูแลส่งผลให้ขาดความตระหนักในด้านสุขภาพของเด็ก
- ผู้ปกครองเด็กไม่อยู่บ้าน แนวทางการแก้ไข - หมู่บ้านหรือชุมชนจะเกิดความเข้มแข็งได้ก็ต่อเมื่อมีผู้นำที่มีจิตอาสา จิตสาธารณะ มีความสามัคคีเป็นหนึ่ง ระหว่างผู้นำท้องที่ ผู้นำศาสนา ผู้นำท้องถิ่น ชมรมเป็นตัวผลักดันที่สำคัญเพื่อให้ผู้นำฝ่ายต่างๆในหมู่บ้านเกิดการขับเคลื่อน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้รับความรู้ และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อไปต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน
80.00 80.00 80.00

 

2 เพื่อให้เด็กละเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 ของเด็กและเยาวชนในพื้นที่มีสุขภาพร่างกายจิตใจแข็งแรง
80.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 80 80
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กเยาวชนในพื้นที่ได้รับความรู้ และมีภูมิคุ้มกันที่ดีต่อไปต่อปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพในปัจจุบัน (2) เพื่อให้เด็กละเยาวชนในพื้นที่เติบโตอย่างมีคุณภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน (2) พัฒนาองค์ความรู้ (3) ส่งเสริมการขยับ เคลื่อนไหวทางกาย (4) ถอดบทเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง โตอย่างมีสุขภาพ บ้านปะกาลือสง ปี 63

รหัสโครงการ 63-L3065-2-14 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

พัฒนาการดี สุขภาพแข็งแรง โตอย่างมีสุขภาพ บ้านปะกาลือสง ปี 63 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3065-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมคนรักกีฬา ม.6 บ้านปะกาลือสง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด