กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ได้แก่ ฝึกทักษะการแปรงฟันหญิง ช่วงฝากครรภ์, เยี่ยมหญิงหลังคลอด และตรวจสุขภาพฟัน และ OHI ช่วงฝากครรภ์ และรักษาทางทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ที่ระบุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 30 หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจฟันและรักษาทันตกรรม
20.00 30.00

 

2 กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5ปี) 1. เพื่อตรวจช่องปากเด็ก และให้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพช่อง ปากตามระบบใน WBC 2. เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี 3. เพื่อตรวจช่องปากปีละ 2 ครั้ง และให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากกับผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง 4.เพื่อจัดให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน 5.เพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กให้เอื้อต่อสุขภาพฟันเช่น การควบคุมอาหารหวานและอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพในศูนย์และโรงเรียนอนุบาล
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ80 ของเด็กอายุ 0-2 ปีได้รับการเคลือบฟลูออไรด์วานิช 2. ร้อยละ80 ของเด็กอายุ3-5ปีได้รับการตรวจฟันและเคลือบฟลูออไรด์วานิช 3. ในศูนย์เด็กเล็กมีกิจกรรมการจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพฟันเช่น การควบคุมอาหารหวานและอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ
80.00 90.00

 

3 กลุ่มเด็กนักเรียน(6-12 ปี) 1. เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปากกลุ่มเด็กวัยเรียน 2. เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และฝึกทักษะการแปรงฟันเป็นรายบุคคล 3. รับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม 4.มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 20 ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่1-6 ที่มีปัญหาโรคฟันผุ ได้รับการอุดฟัน 2. ร้อยละ 100 ของโรงเรียนระดับประถมศึกษา มีการจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
20.00 30.00

 

4 กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ป่วยเบาหวาน 1.เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปาก 2.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก 3.จัดบริการทันตกรรมป้องกันแก่ผู้ป่วยเบาหวานในรายที่มีปัญหาช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุและผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจฟัน
81.54 85.00

 

5 เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. และประชาชนที่สนใจได้รับความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้อื่นได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ของแกนนำสาธารณสุข อสม. และประชาชนที่สนใจได้รับความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้อื่นได้
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1106
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 666
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1. เพื่อสร้างเสริมสุขภาพช่องปาก ได้แก่ ฝึกทักษะการแปรงฟันหญิง ช่วงฝากครรภ์, เยี่ยมหญิงหลังคลอด และตรวจสุขภาพฟัน และ OHI ช่วงฝากครรภ์ และรักษาทางทันตกรรมตามชุดสิทธิประโยชน์ที่ระบุ (2) กลุ่มเด็กปฐมวัย (0-5ปี) 1. เพื่อตรวจช่องปากเด็ก และให้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพช่อง ปากตามระบบใน WBC
2. เพื่อฝึกทักษะการแปรงฟันให้ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี
3. เพื่อตรวจช่องปากปีละ 2 ครั้ง และให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพช่องปากกับผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครอง
4.เพื่อจัดให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
5.เพื่อจัดการสิ่งแวดล้อมในศูนย์เด็กให้เอื้อต่อสุขภาพฟันเช่น การควบคุมอาหารหวานและอาหารที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพในศูนย์และโรงเรียนอนุบาล (3) กลุ่มเด็กนักเรียน(6-12 ปี)
1. เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปากกลุ่มเด็กวัยเรียน
2. เด็กวัยเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก และฝึกทักษะการแปรงฟันเป็นรายบุคคล 3. รับบริการทางทันตกรรมตามความเหมาะสม 4.มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน (4) กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ป่วยเบาหวาน
1.เพื่อส่งเสริมป้องกันและรักษาสุขภาพในช่องปาก
2.เพื่อส่งเสริมให้ชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก
3.จัดบริการทันตกรรมป้องกันแก่ผู้ป่วยเบาหวานในรายที่มีปัญหาช่องปาก (5) เพื่อให้แกนนำสาธารณสุข อสม. และประชาชนที่สนใจได้รับความรู้ และสามารถนำไปปฏิบัติงานช่วยเหลือผู้อื่นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เสริมสร้างและฝึกทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธี (2) การส่งเสริม ป้องกันโรคในช่องปาก เชิงรุกในและนอกสถานบริการ (3) การควบคุมกำกับ และการประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh