กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ อบรมแกนนำสุขภาพสร้างสุข ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางเยาวลักษณ์ บุญตามชู




ชื่อโครงการ อบรมแกนนำสุขภาพสร้างสุข ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-01-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"อบรมแกนนำสุขภาพสร้างสุข ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อบรมแกนนำสุขภาพสร้างสุข ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563



บทคัดย่อ

โครงการ " อบรมแกนนำสุขภาพสร้างสุข ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L7258-01-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 300,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. ๒๔๙๖ แก้ไขถึงฉบับที่ 19 พ.ศ.2552 มาตรา 50 (7) มาตา ๕๓ (๑)มาตรา ๕๖ ๑) เทศบาลมีหน้าที่ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก ยาวชน ผู้สูงอายุและผู้พิการ พระราชบัญญัติกำหนด แผ่นและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒5๔๒ มาตรา ๑๖ให้เทศบาล เมืองพัทยาและองค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (๑๐) การสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรและผู้ด้อยโอกาส มาตรา ๑6 (๑๙)การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มีบทบาทหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ ส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี มีการป้องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟื้นฟูสภาพโดยให้บริการประชาชนภายใต้การมีส่วนร่วมของประชาชน ปัจจุบันสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้ประชาชนเจ็บป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือที่เรียกกันว่าโรควิถีชีวิตมีแนวนมเพิ่มมากขึ้นทุปี ได้แก่ โรความตันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง การเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวส่งผลกระทบต่อภาระค่าใช้จ่ายในการักกษาพยาบาล ทั้งในระดับ บุคคล ครอบครัว และประเทศ และส่งผลกระทบต่อความสุขและคุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ่งปัญหาสุขภาพ ส่วนใหญ่มีปัจจัยมาจากพฤติกรมที่ไม่เหมาะสม ทั้งพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค พฤติกรรมของประชาชน ที่ไม่เหมาะสมดังกล่าว อาจมีพฤติกรรมเสี่ยงร่วม เช่น การสูบบุหรี่ดื่มสุรา ความเครียด ชาดการออกกำลังกาย การบริโภคอหารที่ไม่เหมาะสม ทั้งในสนของการบริโภคหวาน มั่น เค็มมากเกินไป การบริโภคผักผลไม้น้อย บริโภค อาหารไม่สะอาด ซึ่งเทศบาลนครหาดใหญ่เป็นพื้นที่หนึ่งที่ประสบปัญหาสาธารณสุขดังกล่าว และมีแนวโน้มประชาชนจะ เจ็บป่วยด้วยโรไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นทุปี ดังนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทกุภาคส่วนของสังคมต้องเร่งแก้ไชปัญหาเหล่านี้เพื่อให้ประชาชนตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของการสร้างสุขภาพว่าว่อมสุภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับผิดชอบดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและชุมชน โดยสร้างเสริมความเข้าใจให้กับประชาชนอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม เช่น การให้ความรู้แก่ประชาชน ให้มีการปรับปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร การออกกำลังกายการปรับอารมณ์ความเครียด ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่เป็นวิถีชีวิตที่ลดเสี่ยง ลดโรค ลดภาวะแทรกซ้อน ลดการตายและ ลดภาระคำใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ซึ่งแกนนำสุขภาพในชุมชนเป็นบุคลากรสาธารณสุขภาคประชาชน เป็นผู้นำ การเปลี่ยนแปลงทางด้านพฤติกรรมสุขภาพ เป็นบุคคลที่มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่ง ในการน้ำความรู้ ไปถ่ายทอดให้กับ สมาชิกในครอบครัวและประชาชนในชุมชน รวมทั้งเป็นแกนนำในการขับเคลื่อนการปรับปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่ถูกต้อง เหมาะสม ฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ สำนักการสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ ได้เล็งเห็นถึง ความสำคัญของการส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเอง จึงได้จัดทำโครงการอบรบแกนนำสุขภาพสร้างสุขลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพและประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคไม่ ติดต่อรื้อรัง
  2. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแล สุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยตนเองและสามารถดูแล สุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้อง
  3. เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลสุขภาพและสร้างแกนนำ สุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.ผู้เข้าร่วมโครงการเกิดความรู้และทักษะที่ถูกลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อรื้อรัง

๒. เครือข่ายและสร้างแกนนำสุขภาพในชุมชนมีความเข้มแข็งสามารถดูแลสุขภาพประชาชนในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนการดำเนินโครงการ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการและรับสมัครผู้เข้าร่วมโครงการ 3.ดำเนินตามโครงการ - จัดอบรมคามรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ฯ                             - จัดกิจกรรมติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้                             - กิจกรรมรณรงค์สร้างสุข ฯ ในชุมชน                             - ประผลและรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.แกนนำสร้างสุขและประชาชนกลุ่มเสียงมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2.ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยตนเองและสามารถดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้องบ

 

340 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพและประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคไม่ ติดต่อรื้อรัง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ความรู้ก่อน-หลังอบรบ
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแล สุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยตนเองและสามารถดูแล สุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๗๐ สามารถนำความรู้ไป ใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้ และ อย่างถูกต้อง
0.00

 

3 เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลสุขภาพและสร้างแกนนำ สุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๖๐ มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น ผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ ๘๐ มีความพึงพอใจต่อ การเข้าร่วมโครงการในระดับมาก-มากที่สุด
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้แกนนำสุขภาพและประชาชนกลุ่มเสี่ยง มีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพลดเสี่ยง ลดโรคไม่ ติดต่อรื้อรัง (2) เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแล สุขภาพ ป้องกันการเจ็บป่วยด้วยตนเองและสามารถดูแล สุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชนได้อย่างถูกต้อง (3) เพื่อพัฒนาเครือข่ายการดูแลสุขภาพและสร้างแกนนำ สุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


อบรมแกนนำสุขภาพสร้างสุข ลดเสี่ยง ลดโรค ปรับพฤติกรรม เทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L7258-01-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเยาวลักษณ์ บุญตามชู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด