กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี


“ ส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี ”

ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเสาวณีย์ขวัญอ่อน

ชื่อโครงการ ส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี

ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5200-3-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5200-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการที่ดี เป็นรากฐานสำคัญของการมีสุขภาพที่ดีตลอดชีวิตโดยเฉพาะในช่วงที่มีการเจริญเติบโตตั้งแต่ในครรภ์มารดาจนถึงวัยรุ่น เนื่องจากการเจริญเติบโตมีทั้งด้านสมองและร่างกาย หากขาดอาหาร สิ่งที่พบเห็นคือ เด็กตัวเล็ก ผอม เตีย ซึ่งเป็นการแสดงออกทางด้านร่างกาย แต่ผลที่เกิดขึ้นมิใช่แค่เพียงด้านร่างกายเท่านั้น ยังมีผลต่อการพัฒนาสมองด้วยทำให้สติปัญญาต่ำ เรียนรู้ช้า ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม ปัจจุบันเด็กในวัยเรียนอยู่ในภาวะความเสี่ยงด้านสุขภาพอย่างน่าเป็นห่วง เนื่องจากเด็กต้องบริโภคอาหารพืชผัก และผลไม้ที่ไม่ปลอดภัย ทำให้มีการสะสมสารพิษภายในร่างกายเป็นระยะเวลานาน อาจก่อให้เกิดภาวะความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยและเกิดโรคชนิดต่างๆ ได้ และมีผลต่อการเจริญเติบโตของเด็ก เมื่อเป็นผู้ใหญ่ประสิทธิภาพการทำงานจะต่ำ ส่งผลการพัฒนาประเทศในอนาคต กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมสุขภาพจิต ได้สำรวจไอคิว-อีคิว เด็กไทยปี 2559 เฉลี่ยประเทศอยู่ที่ 98.2 เพิ่มขึ้นจาก 5 ปีก่อน แต่ยังต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานสากล ไอคิวเด็กไทยพบว่าเกิน 100 ใน 42 จังหวัด ระดับสติปัญญา (ไอคิว) และระดับความฉลาดทางอารมณ์ (อีคิว) ประจำปี 2559 ในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ทั่วประเทศ จำนวน 23,644 คน พบว่า คะแนนไอคิวเฉลี่ยอยู่ที่ 98.2 เพิ่มจากปี 2554 ที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 94 แต่ยังต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานสากล ซึ่งกำหนดไว้ที่ 100 โดยภาพรวมเด็กมีไอคิวอยู่ในเกณฑ์ปกติ 2 ใน 3 หรือร้อยละ 68 โดยเด็กที่มีไอคิวสูงเกิน 100 ขึ้นไป มีอยู่ 42 จังหวัด เด็กในเขตอำเภอเมือง มีไอคิว 101.5 นอกเขตอำเภอเมือง ไอคิวเฉลี่ย 96.9 ยังมีเด็กนักเรียนในอีก 35 จังหวัด ที่ไอคิวอยู่ในระดับต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน และเด็กที่มีระดับสติปัญญาบกพร่องหรือต่ำกว่า 70 ร้อยละ 5.8 ซึ่งเกณฑ์มาตรฐานสากลกำหนดว่าไม่เกินร้อยละ 2 ส่วนมากเป็นเด็กที่อยู่ในภาคตะวันออกเฉีย งเหนือและภาคใต้ ในส่วนของกลุ่มของเขตสุขภาพที่ 12 (ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สงขลา สตูล ตรัง พัทลุง) มีไอคิวเพิ่มขึ้นจากปี 2554 โดยคะแนนไอคิวเฉลี่ยอยู่ที่ 94.76 ซึ่งยังต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐานสากล เด็กวัยเรียน 4-12 ปี จะเจริญเติบโตและมีพัฒนาการทางร่างกายและจิตใจ รวมทั้งการเรียนรู้อันเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะนำไปสู่ชีวิตที่มีคุณภาพในอนาคต ดังนั้นอาหารจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพราะุถ่าเด็กในวัยนี้ได้รับอาหารไม่เพียงพอหรือไม่เหมาะสม จะส่งผลทำให้เก็กแคระแกรน สติปัญญาทึบ ไม่มีความพร้อมในการเรียน ประสิทธิภาพการเรียนรู้และการทำงานต่ำ และจากการประเมินภาวะโภชนาการ พบว่าเด็กโรงเรียนเทศบาลตำบลนาทวี ในปีการศึกษา 2559 จากเด็กทั้งหมด 426 คน มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 18 คน คิดเป็นร้อยละ 4.23 น้ำหนักเกินกว่าเกณฑ์ 56 คน คิดเป็นร้อยละ 13.15 ภาวะเสี่ยง 30 คน คิดเป็นร้อยละ 13.82 และเตั้ย 38 คน คิดเป็นร้อยละ 8.92 ในการจัดเตรียมอาหารกลางวัน โรงเรียนเทศบาลตำบลนาทวีได้มีการจ้างเหมาทำอาหารกลางวัน โดยวัตถุดิบทั่วไปในการปรุงอาหารหาซื้อมาจากตลาด หรือห้างสรรพสินค้าข้างเคียง ซึ่งวัตถุดิบของสดดังกล่าวได้มีการสุ่มตรวจจากสาธารณสุขอำเภอนาทวี ผลการสุ่มตรวจพบว่ามีสารพิษตกค้าง ดังนั้น โรงเรียนเทศบาลตำบลนทวี ได้เล็งเห็นความสำคัญของการส่งเสิรมโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี และการปลูกผักสวนครัวไว้รับประทาน เนื่องจากพืชผักสวนครัวเป็นแหล่งรวมสารอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกาย เพื่อให้เด็กมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง มีการเจริญเติบโตของสมองและร่างกายเหมาะสมตามวัย เติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณค่า และเป็นอนาคตของประเทศชาติต่อไป จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมโภชนาการสมวัยสำหรับนักเรียนโรงเรียนเทศบาลตำบลนาทวี ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี
  2. เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี ที่มีภาวะเสี่ยง
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัย 4-12 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
  4. เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษ
  5. เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญของผักสวนครัว
  6. เพื่อให้นักเรียนรู้จักพืชผักสวนครัวมากขึ้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กตามวัย
    2. เด็กวัย 4-12 ปี ที่มีภาวะเสี่ยง ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการ
    3. เด็กวัย 4-12 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
    4. นักเรียนได้บริโภคผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษ
    5. นักเรียนเห็นความสำคัญของพืชผักสวนครัว
    6. นักเรียนรู้จักพืชผักสวนครัวมากขึ้น

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. นักเรียนที่เข้าร่วมการประเมินเกณฑ์ภาวะโภชนาการ ทั้งหมด 94 คน มีผลการประเมิน ดังนี้   1.1 เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 27 คน ร้อยละ 28.72   1.2 เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 13 คน ร้อยละ 13.83   1.3 เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 54 คน ร้อยละ 57.45
    2. การดำเนินการแก้ปัญหาในเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ น้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์และน้ำหนักเกินเกณฑ์ สรุปได้ดังนี้   2.1 เด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 23 คน สามารถแก้ปัญหานักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.48   2.2 เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ จำนวน 54 คน สามารถแก้ปัญหาเด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 31.48   ดังนั้น จากการติดตามการดำเนินโครงการส่งเสริมโภชนาการในเด็ก 4-12 ปี จำนวน 2 ครั้ง มีเด็กเข้าร่วม94 คน สามารถแก้ปัญหาในเด็กที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ได้ จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 43.48 และสามารถแก้ปัญหาในเก็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ได้ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 31.48 ไม่บรรลุเป้าหมายเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้ เนื่องจากผู้ปกครองไม่ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินของเด็กนักเรียน ทำให้ไม่บรรลุเป้าหมายเชิงคุณภาพที่ตั้งไว้
    3. ผู้ปกครองที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กตามวัย
    4. นักเรียนได้บริโภคอาหารที่ประกอบจากผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษ
    5. นักเรียนรู้จักพืชผักสวนครัวและเห็นความสำคัญมากขึ้น

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี ที่มีภาวะเสี่ยง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัย 4-12 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษ
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญของผักสวนครัว
    ตัวชี้วัด :

     

    6 เพื่อให้นักเรียนรู้จักพืชผักสวนครัวมากขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจถึงภาวะโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี (2) เพื่อติดตามเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี ที่มีภาวะเสี่ยง (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัย 4-12 ปี มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย (4) เพื่อให้นักเรียนได้บริโภคผักสวนครัวที่ปลอดสารพิษ (5) เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญของผักสวนครัว (6) เพื่อให้นักเรียนรู้จักพืชผักสวนครัวมากขึ้น

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่งเสริมโภชนาการในเด็กวัย 4-12 ปี จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5200-3-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวเสาวณีย์ขวัญอ่อน )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด