กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต


“ โครงการเข็มแข็งไว้ ปลอดภัยแม่และลูก ปี 2560 ”

ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปะแต

ชื่อโครงการ โครงการเข็มแข็งไว้ ปลอดภัยแม่และลูก ปี 2560

ที่อยู่ ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 60-4149-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเข็มแข็งไว้ ปลอดภัยแม่และลูก ปี 2560 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเข็มแข็งไว้ ปลอดภัยแม่และลูก ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเข็มแข็งไว้ ปลอดภัยแม่และลูก ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะแต อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 60-4149-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 57,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

งานอนามัยแม่และเด็กเป็นบริการสุขภาพขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการพัฒนาคุณภาพประชากร ซึ่งเริ่มตั้งแต่การดูแลครรภ์ เพื่อให้การตั้งครรภ์และการคลอดอย่างมีคุณภาพ มารดาและทารกปลอดภัยและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงต่อเนื่องถึงการให้การดูแลเด็กในช่วงปฐมวัย ซึ่งเป็นทรัพยากรอันทรงคุณค่าและเป็นอนาคตของชาติ ควรให้การเลี้ยงดูให้เจริญเติบโตและมีพัฒนาการที่สมวัย ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์สังคม และสติปัญญา การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ดังนั้น การดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีความสำคัญโดยต้องฝากครรภ์ตั้งแต่ในระยะแรกในการตั้งครรภ์เพื่อสุขภาพที่ดีของหญิงตั้งครรภ์และการอดชีวิตของทารก และสามารถวินิจฉัย ป้องกัน รักษาภาวะแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ซึ่งลดอัตราตายและอัตราทุพลภาพต่อทารกกับหญิงตั้งครรภ์
การไม่ฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์เพิ่มความเสี่ยงของทารกตายคลอด เนื่องจากกลุ่มอาการหายใจลำบากเกิดในทารกแรกเกิด เลือดออกในโพรงสมอง พยาธิสภาพจอตาผิดปกติและโรคปอดเรื้อรัง ทารกน้ำหนักน้อย คลอดก่อนกำหนด จากนอกจากนั้นยังส่งผลให้หญิงตั้งครรภ์มีภาวะแทรกซ้อนในขณะตั้งครรภ์ได้แก่ โรคโลหิตจาง (ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์)โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์และโรคไต ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การมาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกัน และให้การวินิจฉัย ตรวจรักษาภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นในระยะก่อนคลอด คลอดและระยะหลังคลอดจากพื้นที่ส่วนใหญ่ พบว่ามีหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะบกพร่องเหล็กหรือภาวะโลหิตจางเนื่องจากขาดธาตุเหล็ก ร้อยละ 27.78 ค่อนข้างสูงซึ่งเกณฑ์ต้องไม่เกินร้อยละ 10 นอกจากนั้นยังมีหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ที่มีความเชื่อว่า การกินอาหารมากๆ รวมทั้งยาบำรุง ทำให้เด็กโต คลอดยาก ทำให้งดการกินยาขณะใกล้คลอด แต่หลักคำสอนอิสลาม ท่านศาสดามูฮัมหมัด (ซ.ล.) ได้กล่าวว่า “ทุกโรคนั้นมียา เมื่อใช้ยาถูกกับโรคก็จะหายด้วยการอนุมัติของอัลลอฮ์”จากคำสอนดังกล่าว เมื่อมีอาการเจ็บป่วยอิสลามสนับสนุนให้มีการบำบัดรักษาด้วยยา ส่วนการหายจากโรคนั้นเป็นความประสงค์ของอัลลอฮฺ(ยูซุฟ, สุภัทร, 2551) และหญิงตั้งครรภ์มุสลิมไม่นิยมการเว้นช่วงการ มีบุตร ทำให้มีการตั้งครรภ์หลายครั้ง และมักชอบดื่มน้ำชา กาแฟ พร้อมกับการรับประทานอาหาร โดยเฉพาะอาหารมื้อเช้าซึ่งอาหารเหล่านี้จะไปขัดขวางการดูดซึมธาตุเหล็ก และยังพบภาวะซีดที่เกิดจากการได้รับธาตุเหล็กไม่เพียงพอ เนื่องจากรับประทานอาหารน้อย จากเศรษฐกิจของครอบครัว ซึ่ง พบว่าหญิงตั้งครรภ์ส่วนใหญ่จะได้รับธาตุเหล็กและสารอาหารไม่เพียงพอเนื่องจากฐานะทางเศรษฐกิจต่ำหญิงตั้งครรภ์จะประกอบอาชีพทำสวน ทำนา และรับจ้าง ทำให้ไม่มีเวลาในการสนใจการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อการตั้งครรภ์อย่างเพียงพอและเหมาะสม อย่างไรก็ตาม ท่านนบีมูฮัมหมัด (ศ็อลฯ) ได้กล่าวไว้ว่า “ผู้ศรัทธาที่เข็มแข็งย่อมดี และ เป็นที่รักของอัลลอฮฺ ยิ่งกว่าผู้ศรัทธาที่อ่อนแอ” (ยูซุฟ, สุภัทร, 2551) ดังนั้นเราในฐานะที่เป็นมุสลิมหรือมุสลิมะฮฺ ผู้ศรัทธาคนหนึ่ง จะต้องมีความตระหนักในเรื่องของการดูแลสุขภาพอยู่เสมอ โดยการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีให้คงอยู่กับตัวเราตลอดไป และ บุคคลใดไม่ดูแลสุขภาพถือว่าไม่ศรัทธาต่อองค์ฮัลเลาะห์ (เหราะหมาน, 2547) และการตั้งครรภ์ถือว่าเป็นความประสงค์ขององค์ฮัลเลาะห์ ผู้เป็นมารดาจะต้องดูแลตนเองให้ดีเพื่อให้ทารกที่คลอดออกมาสมบูรณ์ดังนั้นแนวทางการดูแลและป้องกันการเกิดปัญหาดังกล่าว คือนำหลักการปฏิบัติของศาสนาอิสลามที่เน้นการดูแลสุขภาพหากนำมาปรับใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่หญิงตั้งครรภ์มุสลิมที่มีภาวะซีดให้สามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม รวมถึง ต้องให้การดูแลที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการฝากครรภ์คุณภาพและเสริมทักษะการดูแลหลังคลอด และทารกควรได้รับการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาอย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน ได้รับการอบรมเลี้ยงดูที่ตอบสนองความต้องการและส่งเสริมพัฒนาการของเด็กทุกด้านตามวัย การมีส่วนร่วมของชุมชนมีเครือข่ายที่เข้มแข็ง ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำลบ้านปะแตได้เล็งเห็นความสำคัญของ การส่งเสริมสุขภาพของหญิงขณะตั้งครรภ์และการดูแลสุขภาพมารดาและทารกหลังคลอด เพื่อให้ทารกที่อยู่ ในครรภ์และที่จะเกิดมาในอนาคตได้รับการดูแลที่ถูกวิธีเพื่อให้มีสุขภาพกายสุขภาพจิตที่ดี และเป็นกำลังสำคัญ ของประเทศชาติในอนาคต และยังเป็นการสร้างสายใยรักความผูกพันของครอบครัว จึงจัดโครงการสร้างเสริมสุขภาพหญิงตั้งครรภ์และหลังคลอดเข้มแข็งไว้ ปลอดภัยแม่และลูก จากการดำเนินงาน ย้อนหลัง 3 ปี ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปะแต พบว่า การดำเนินงานแก้ภาวะซีดไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร และยังเป็นปัญหาระดับอำเภอยะหา ดังนั้นต้องแก้ไขและส่งเสริมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดต่อไปยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มุสลิมที่มีภาวะซีดพร้อมญาติ มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรค สามารถปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องอยู่ในเกณฑ์ระดับดี ร้อยละ 90
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว ชุมชน มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 5 เกณฑ์ ไม่มีภาวะซีด คลอดน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2500กรัมตามเกณฑ์ในระดับดีได้ร้อยละ 90

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์น้อยกว่าร้อยละ 10ในปี 2560 2.ได้รับความร่วมมือจากประชาชน และความร่วมมือจากหลายองค์กร 3.การฝากครรภ์คุณภาพ มีความครอบคลุมที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ 4.ประชาชนมีความเข้าใจเกี่ยวกับหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เพิ่มขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มุสลิมที่มีภาวะซีดพร้อมญาติ มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรค สามารถปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องอยู่ในเกณฑ์ระดับดี ร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90

     

    2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว ชุมชน มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 5 เกณฑ์ ไม่มีภาวะซีด คลอดน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2500กรัมตามเกณฑ์ในระดับดีได้ร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 200
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์มุสลิมที่มีภาวะซีดพร้อมญาติ มีความรู้ ความเข้าใจและทักษะการดูแลตนเองเกี่ยวกับโรค สามารถปฏิบัติกิจกรรมการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องอยู่ในเกณฑ์ระดับดี ร้อยละ 90 (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ ครอบครัว ชุมชน มีความรู้และตระหนักถึงความสำคัญของการมาฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ ฝากครรภ์ครบ 5 เกณฑ์ ไม่มีภาวะซีด คลอดน้ำหนักไม่น้อยกว่า 2500กรัมตามเกณฑ์ในระดับดีได้ร้อยละ 90

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเข็มแข็งไว้ ปลอดภัยแม่และลูก ปี 2560 จังหวัด ยะลา

    รหัสโครงการ 60-4149-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปะแต )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด