กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน


“ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยการออกกำลังกายและนันทนาการ ”

ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายจรูญ มลิวัลย์ ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลทุ่งลาน

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยการออกกำลังกายและนันทนาการ

ที่อยู่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5169-2-03 เลขที่ข้อตกลง 6/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 กรกฎาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยการออกกำลังกายและนันทนาการ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยการออกกำลังกายและนันทนาการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยการออกกำลังกายและนันทนาการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งลาน อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5169-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 กรกฎาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 80,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุจากปัจจัยการลดลงของอัตราเกิดและอายุขัยเฉลี่ยของประชากรที่ยืนยาวขึ้น ขณะเดียวกันผู้สูงอายุก็มีอายุยืนยาวขึ้น อัตราการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุในปัจจุบันสูงกว่าของประชากรโดยรวม ขณะเดียวกันอัตราการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุวัยปลายก็สูงกว่าอัตราการเพิ่มของกลุ่มผู้สูงอายุวัยต้นมีผลให้จำนวนและสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุของไทย เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆโดยเฉพาะกลุ่มผู้สูงอายุวัยปลายปัญหาการเพิ่มของจำนวนผู้สูงอายุคาดว่าจะทวีความรุนแรงขึ้นในอีกสิบปีข้างหน้าแม้จะมีอายุเกิน60ปีขึ้นไปร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติแต่สภาพจิตใจยังคงเป็นปกติเหมือนเดิม มีความรู้สึกและมีความสามารถทำหน้าที่การงานได้อย่างปกติและตระหนักดีว่ายังไม่แก่จนทำอะไรไม่ได้หรือยอมรับความบกพร่องของร่างกายและปัญหาสุขภาพ การเกิดโรคและการเจ็บป่วยทั้งร่างกายและจิตใจจนไม่สามารถช่วยตนเองได้ ต้องพึ่งพิงครอบครัว ญาติ ชุมชนและสังคมผู้สูงอายุที่ได้รับผลกระทบจากการเสื่อมถอยของร่างกายตามวัย รวมทั้งผลของโรคเรื้อรังหรืออุบัติเหตุจึงนำไปสู่ความถดถอยของร่างกายเกิดภาวะพึ่งพาไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้หรือช่วยเหลือตนเองได้น้อยหรือมีอาการสมองเสื่อม ทำให้ต้องอาศัยพึ่งพาเป็นภาระแก่ผู้ดูแลเกิดภาวะทุพพลภาพในที่สุดสิ่งเหล่านี้ทำให้ผู้สูงอายุดำรงชีวิตอยู่อย่างไม่มีความสุขศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลทุ่งลานเทศบาลตำบลตำบลทุ่งลานอำเภอคลองหอยโข่งจังหวัดสงขลาพบว่าในปีพ.ศ. 2559มีผู้สูงอายุจำนวน996คน , ในปีพ.ศ. 2560มีผู้สูงอายุจำนวน1,034คน, ในปีพ.ศ. 2561มีผู้สูงอายุจำนวน1,067คนและปัจจุบันในปีพ.ศ. 2562มีผู้สูงอายุจำนวน1,116คนจากจำนวนประชากรทั้งหมดจำนวน7,186คน(ชาย3,488คน / หญิง3,698คน) คิดเป็น15.55เปอร์เซ็นต์ของประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาลตำบลทุ่งลาน ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลทุ่งลานตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ที่จะดูแลสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นป้องกันการเกิดโรคต่างๆรวมทั้งฟื้นฟูสุขภาพเมื่อมีภาวะของโรค และควบคุมให้ภาวะของโรคเหล่านั้นมีอาการคงที่ไม่กำเริบรุนแรงหรือเสื่อมถอยมากกว่าเดิม จะทำให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอยู่อย่างมีคุณค่าสามารถทำประโยชน์ให้แก่สังคมและมีความสุขในปั้นปลายของชีวิต ประกอบกับรัฐบาลได้มีนโยบายในเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีและการใช้ชีวิตอยู่ร่วมในสังคมอย่างมีความสุขสร้างสรรค์และไม่ก่อภาระต่อสังคมในอนาคตโดยจัดเตรียมระบบการดูแลในบ้าน สถานพักฟื้นและโรงพยาบาล ที่เป็นความร่วมมือของภาครัฐภาคเอกชนชุมชนและครอบครัวรวมทั้งพัฒนาระบบการเงินการคลังสำหรับการดูแลผู้สูงอายุ ในการนี้ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลทุ่งลานเทศบาลตำบลตำบลทุ่งลานอำเภอคลองหอยโข่งจังหวัดสงขลาจึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุตำบลทุ่งลานประจำปี 2563ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
  2. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
  3. ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
  4. จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการ ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย สร้างความมีคุณค่าในตนเอง และมีสุขภาพจิตที่ดี
  5. จำนวนผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่เศร้า กินข้าวอร่อย”

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการตรวจสุขภาพและจดสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
  2. การอบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ ช่วงที่ 1
  3. การอบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ ช่วงที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการดูแลตามความเหมาะสมมีความรู้มีทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกายและสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
  • ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยและมีสุขภาพที่ดีขึ้น
  • ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับการพัฒนาด้านจิตใจสุขภาพสังคม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการตรวจสุขภาพและจดสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ

วันที่ 31 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสุขภาพและบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ ตลอดโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีข้อมูลด้านสุขภาพผู้สูงอายุั

 

0 0

2. การอบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ ช่วงที่ 1

วันที่ 31 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการ  สามารถดูแลตัวเองในเบื้องต้นได้

 

0 0

3. การอบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ ช่วงที่ 2

วันที่ 31 ธันวาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุมีความรู้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการ  สามารถดูแลตัวเองในเบื้องต้นได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว(คน)
20.00 15.00

 

2 เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ เช่น หกล้มง่าย เป็นต้น
200.00 100.00

 

3 ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกาย และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี
100.00 80.00

 

4 จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการ ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย สร้างความมีคุณค่าในตนเอง และมีสุขภาพจิตที่ดี
ตัวชี้วัด : เพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัยสร้างความมีคุณค่าในตนเองและมีสุขภาพจิตที่ดี
100.00 60.00

 

5 จำนวนผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่เศร้า กินข้าวอร่อย”
ตัวชี้วัด : เพิ่มจำนวนผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่เศร้า กินข้าวอร่อย”
100.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการดูแลระยะยาวผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (2) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ  (3) ร้อยละของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้  ทักษะในการดูแลสุขภาพร่างกาย  และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ดี (4) จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมการ  ออกกำลังกายที่เหมาะสมกับวัย  สร้างความมีคุณค่าในตนเอง  และมีสุขภาพจิตที่ดี (5) จำนวนผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ “ไม่ล้ม  ไม่ลืม  ไม่เศร้า  กินข้าวอร่อย”

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการตรวจสุขภาพและจดสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ (2) การอบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ ช่วงที่ 1 (3) การอบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพและนันทนาการสำหรับผู้สูงอายุ ช่วงที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยการออกกำลังกายและนันทนาการ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5169-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายจรูญ มลิวัลย์ ประธานศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลทุ่งลาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด