กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองกำแพงเพชร


“ โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ ”

ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนนทิยา เทพญา

ชื่อโครงการ โครงการลด ละ เลิกบุหรี่

ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5229-01-06 เลขที่ข้อตกลง 8/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลด ละ เลิกบุหรี่



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5229-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,950.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

บุหรี่เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญทางประชากรโลก องค์การอนามัยโลกรายงานว่าประชากรโลกเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ปีละ 4 ล้านคน บุหรี่เป็นสาเหตุ การตายของโรคมะเร็งปอด โรคหลอดเลือดและหัวใจ โรคถุงลมโป่งพอง และเส้นโลหิตในสมองแตกหรือตีบ ในประเทศไทย บุหรี่เป็นสาเหตุการตายของคนไทยปีละ 42,000 คน เฉลี่ยวันละ 115 คน (มูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่,2544) บุหรี่นอกจากทำลายสุขภาพแล้ว ยังทำให้ประชาชนสูญเสียรายได้ จากการสำรวจ ของศูนย์วิจัยกสิกรไทย (2546) พบว่าค่าใช้จ่ายเฉลี่ยสำหรับค่าบุหรี่ของคนกรุงเทพฯ คิดเป็นเงินร้อยละ 15 ของรายได้ทั้งหมดในแต่ละเดือน และเมื่อเจ็บป่วย จากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลมากขึ้น แม้มีการรณรงค์เรื่องการเลิกสูบบุหรี่ ที่ทำให้คนไทยตื่นตัวเห็นถึง อันตรายของการสูบบุหรี่กับสุขภาพ แต่ก็พบว่า ยังมีผู้สูบบุหรี่อยู่ถึง 11 ล้านคน หรือ 21.91% ของประชากรไทย และมีผู้ได้รับควันบุหรี่และประชากรไทยร้อยละ 24.39 ของประชากร 65.18 ล้านคน มีโอกาสได้รับควันบุหรี่ในบ้าน ซึ่งในจำนวนนี้เป็นเด็ก 2.28 ล้านคน หรือร้อยละ 3.49 ของประชากรทั้งหมด (ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ, 2549) บุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ ทั้งต่อผู้สูบเอง และผู้ที่อยู่ใกล้ชิดที่สูดหายใจเอาอากาศที่มีควันบุหรี่เข้าไป เพราะควันบุหรี่ประกอบด้วยสารที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพทั้งสิ้น เช่น คาร์บอนมอนอกไซด์ นิโคติน ทาร์ เป็นต้น จากการสำรวจพบว่า ผู้ที่เป็นมะเร็งปอดนั้น ร้อยละ 90 เป็นผลเนื่องมาจากการสูบบุหรี่ และถ้าสูบเกินวันละ 1 ซอง จะมีโอกาสเป็นมะเร็งปอดมากกว่าผู้ที่ไม่สูบถึง 5-20 เท่า นอกจากนี้ ผู้ที่ป่วยด้วยโรคหลอดลมอักเสบร้อยละ 80 และโรคหัวใจร้อยละ 50 ก็มีผลมาจากการสูบบุหรี่เช่นเดียวกัน จากข้อมูลการคัดกรองบุหรี่ในปีงบประมาณ 2562 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองกวางข้อง พบว่าประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่ได้รับการคัดกรองบุหรี่ จำนวน 2,609 คน มีผู้สูบบุหรี่จำนวน 178 คน ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองกวางข้อง ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาการสูบบุหรี่ จึงได้จัดทำโครงการลด ละ เลิกบุหรี่ เพื่อค้นหาผู้สูบบุหรี่และชักชวนเข้าร่วมคลินิกลด ละ เลิกบุหรี่โดยเป็นผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 6 บ้านคอกช้าง หมู่ที่ 7 บ้านควนนา และหมู่ที่ 13 บ้านหนองกวางข้อง ซึ่งเป็นพื้นที่เขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองกวางข้อง โดยมีประชาชนทั่วไปที่สมัครใจเข้าร่วม และจัดอบรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน จำนวน 74 คน เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มเป้าหมายดังกล่าวมีความรู้ความเข้าใจรู้เท่าทันอันตรายจากบุหรี่ สามารถลด ละ เลิกบุหรี่ได้ รวมถึงการได้รับบริการแพทย์แผนไทยโดยใช้ลูกกวาดหญ้าดอกขาว เพื่อให้เป็นชุมชนต้นแบบในการลด ละ เลิกบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.1. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สมัครใจเข้าร่วมคลินิกลด ละ เลิกบุหรี่ 1.2. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน มีความรู้อันตรายจากบุหรี่และวิธีการเลิกบุหรี่ 1.3. เพื่อให้ผู้ที่สมัครใจเข้าร่วมมีความพึงพอใจในการใช้ลูกกวาดหญ้าดอกขาวและกดจุดฝ่าเท้าเลิกบุหรี่ 1.4. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ที่สมัครใจเข้าร่วมสามารถ ลด ละ เลิกบุหรี่ได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรองสำรวจผุ้สูบบุหรี่
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้
  3. กิจกรรมลด ละ เลิกบุหรี่ ด้วยศาสตร์แพทย์ผนไทย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 114
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูบบุหรี่เข้าร่วมคลินิกลด ละเลิก บุหรี่ และสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ
  2. ผู้สามารถเลิกบุหรี่ได้เป็นบุคคลต้นแบบแก่ชาวบ้านในการไม่สูบบุหรี่
  3. เกิดมาตรการกลไกทางสังคม ในการสร้างเครือข่ายผู้ลด ละ เลิกบุหรี่ในชุมชน
  4. ผู้สูบบุหรี่เข้าร่วมคลินิกลด ละเลิก บุหรี่ และสามารถเลิกสูบบุหรี่ได้สำเร็จ
  5. ผู้สามารถเลิกบุหรี่ได้เป็นบุคคลต้นแบบแก่ชาวบ้านในการไม่สูบบุหรี่
  6. เกิดมาตรการกลไกทางสังคม ในการสร้างเครือข่ายผู้ลด ละ เลิกบุหรี่ในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.1. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สมัครใจเข้าร่วมคลินิกลด ละ เลิกบุหรี่ 1.2. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน มีความรู้อันตรายจากบุหรี่และวิธีการเลิกบุหรี่ 1.3. เพื่อให้ผู้ที่สมัครใจเข้าร่วมมีความพึงพอใจในการใช้ลูกกวาดหญ้าดอกขาวและกดจุดฝ่าเท้าเลิกบุหรี่ 1.4. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ที่สมัครใจเข้าร่วมสามารถ ลด ละ เลิกบุหรี่ได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 114
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 114
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.1. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่สมัครใจเข้าร่วมคลินิกลด ละ เลิกบุหรี่ 1.2. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่และอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน มีความรู้อันตรายจากบุหรี่และวิธีการเลิกบุหรี่ 1.3. เพื่อให้ผู้ที่สมัครใจเข้าร่วมมีความพึงพอใจในการใช้ลูกกวาดหญ้าดอกขาวและกดจุดฝ่าเท้าเลิกบุหรี่ 1.4. เพื่อให้ผู้สูบบุหรี่ที่สมัครใจเข้าร่วมสามารถ ลด ละ เลิกบุหรี่ได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองสำรวจผุ้สูบบุหรี่ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ (3) กิจกรรมลด ละ เลิกบุหรี่ ด้วยศาสตร์แพทย์ผนไทย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลด ละ เลิกบุหรี่ จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5229-01-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนนทิยา เทพญา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด