กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามกลุ่มอายุ ปีงบประะมาณ 2563 ”
ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
ทพ.ครรชิต แซ่ลือ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามกลุ่มอายุ ปีงบประะมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5229-01-09 เลขที่ข้อตกลง 11/2563

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 30 กันยายน 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามกลุ่มอายุ ปีงบประะมาณ 2563 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองกำแพงเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามกลุ่มอายุ ปีงบประะมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามกลุ่มอายุ ปีงบประะมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกำแพงเพชร อำเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 63-L5229-01-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กุมภาพันธ์ 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,570.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลเมืองกำแพงเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปีงบประมาณ 2561 ของจังหวัดสงขลา พบว่าเด็กอายุ 3 ปี ในอำเภอรัตภูมิ มีอัตราการเกิดโรคฟันผุร้อยละ 55.6 ในขณะที่เด็กกลุ่มอายุ 12 ปี มีฟันดีไม่มีผุ (cavity free) คิดเป็นร้อยละ 74.8 ซึ่งจะเห็นได้ว่าปัญหาโรคฟันผุในทั้ง 2 กลุ่มอายุ ยังเป็นปัญหาที่ต้องดูแลอย่างต่อเนื่อง และต้องอาศัยการช่วยเหลือดูแลสุขภาพช่องปากจากบุคคลที่เกี่ยวข้องหลายๆ กลุ่มอายุ ซึ่งในแต่ละกลุ่มอายุ ก็ยังมีพฤติกรรมในการดูแลทันตสุขภาพที่ไม่เหมาะสมเช่นกัน การแก้ไขปัญหาจึงต้องอาศัยความร่วมมือจาก พ่อ แม่ ครู ผู้ปกครอง และผู้สูงอายุที่ดูแลบุตรหลาน โดยจะต้องมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีทางทันตสุขภาพ ตั้งแต่มารดาตั้งครรภ์ การเลี้ยงดูบุตร ตลอดจนครูพี่เลี้ยงเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และครูประจำชั้นในระดับประถมศึกษา นอกจากนี้ยังมีกลุ่มผู้ป่วยโรคสำคัญ ได้แก่ โรคเบาหวาน กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการที่เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อโรคในช่องปากและจำเป็นต้องได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสมอีกด้วย     กลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลรัตภูมิ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามกลุ่มอายุต่างๆ ของเครือข่ายอำเภอรัตภูมิขึ้น เพี่อลดการเกิดโรคฟันผุ ส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มอายุต่างๆ และช่วยให้หญิงตั้งครรภ์, ผู้ปกครอง, ครูพี่เลี้ยงเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก, ผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้สูงอายุ, ผู้พิการ ฯลฯ ได้มีความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมที่เหมาะสมในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ดี ทั้งของตนเองและครอบครัว อันจะส่งผลให้กลุ่มเป้าหมายสำคัญ คือ กลุ่มเด็กเล็กได้รับการใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากอย่างเหมาะสม นำไปสู่การแก้ปัญหาทันตสุขภาพอย่างยั่งยืนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์, เด็ก 0-5 ปี, ผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้สูงอายุและผู้พิการ มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 2. เพื่อให้มีการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มอายุต่างๆอย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมแม่ลุกฟันดี
  2. กิจกรรมศูนย์เด็กเล็กฟันสวย
  3. กืจกรรมส่งเสริมสุภาพช่องปากผู้สูงอายุและผู้พิการ
  4. กิจกรรมเบาหวานฟันดี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์รายใหม่ที่เข้าโครงการมีความรู้ทักษะและทัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสุขภาพช่องปากที่ดีและสนใจในการดูแลสุขภาพช่องปาก
  3. มีการประสานงานและสัมพันธภาพที่ดีระหว่างงานทันตสาธารณสุขและทีมบุคลากรของศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก
  4. ชมรมผู้สูงอายุมีการดำเนินกิจกรรมทันตสุขภาพที่เข้มแข็งยิ่งขึ้น
  5. ลดการสูญเสียฟันของผู้สูงอายุ และเพิ่มการบดเคี้ยวที่ดีในผู้สูงอายุที่ได้รับบริการฟันเทียม
  6. ผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการเกิดความตระหนักเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและมีสุขนิสัยที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปาก สามารถดูแลสุขภาพช่องปากได้ถูกวิธี
  7. ผู้ป่วยเบาหวานสามารถนำความรู้ด้านทันตสุขภาพที่ได้ไปดูแลตนเองได้อย่างเหมาะสมและลดภาวะแทรกซ้อนในช่องปากจากโรคเบาหวาน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์, เด็ก 0-5 ปี, ผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้สูงอายุและผู้พิการ มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 2. เพื่อให้มีการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มอายุต่างๆอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์, เด็ก 0-5 ปี, ผู้ป่วยเบาหวาน, ผู้สูงอายุและผู้พิการ มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น 2. เพื่อให้มีการดำเนินกิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพในกลุ่มอายุต่างๆอย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมแม่ลุกฟันดี (2) กิจกรรมศูนย์เด็กเล็กฟันสวย (3) กืจกรรมส่งเสริมสุภาพช่องปากผู้สูงอายุและผู้พิการ (4) กิจกรรมเบาหวานฟันดี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามกลุ่มอายุ ปีงบประะมาณ 2563 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 63-L5229-01-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ทพ.ครรชิต แซ่ลือ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด