กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเยาหวาน ตำบลสุคิริน ”

ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวอภิรดี ศรีสุวรรณ์

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเยาหวาน ตำบลสุคิริน

ที่อยู่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8281-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเยาหวาน ตำบลสุคิริน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเยาหวาน ตำบลสุคิริน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเยาหวาน ตำบลสุคิริน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L8281-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุคิริน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล ปัจจุบันมีประชาชนเป็นจำนวนมากที่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคอันเกิดจากพฤติกรรมซึ่งเกิดจากปัญหาหลายด้านที่ส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพเช่น ด้านเศรษฐกิจสังคม ค่านิยมและการขาดความรู้ปัญหาเหล่านี้เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้ประชาชนมองข้ามในเรื่องสุขภาพและโรคที่ตามมาเนื่องจากการดำเนินชีวิตในแต่ละวันล้วนมีการแข่งขันมากขึ้น ทำให้เกิดช่องว่างในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารเรื่องสุขภาพและโรคต่างๆที่สามารถป้องกันได้ โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่ออันเกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่สามารถป้องกันได้ และจากข้อมูลผลการคัดกรองประชากร อายุ35 ปีขึ้นไปในปี ๒๕62 ในเขตรับผิดชอบหมู่ หมู่ 2 บ้านสว.นอก และ หมู่ 8 บ้านราษฎร์ผดุง หมู่ 11 บ้านซอยปราจีน ตำบลสุคิริน อำเภอสุคิริน จังหวัดนราธิวาส จำนวน339 คน พบว่า มีประชากรกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 96 ราย คิดเป็นร้อยละ 28.32 กลุ่มป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 26 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.67 และกลุ่มเสี่ยงต่อการป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 89 ราย คิดเป็นร้อยละ 26.25 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน จำนวน 70 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.65 ซึ่งกลุ่มเสี่ยงเหล่านี้หากยังไม่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้ถูกต้องเหมาะสมก็อาจส่งผลให้ระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มสูงขึ้นจนผิดปกติและจะเป็นผู้ป่วยรายใหม่ที่ต้องรับการรักษาโดยวิธีกินยาต่อเนื่องในระยะยาว ทำให้รัฐต้องสูญเสียงบประมาณค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลที่เพิ่มขึ้น อีกทั้งยังก่อให้เกิดภาระและผลกระทบกับผู้ดูแลในอนาคตต่อไป ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสว.นอก จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวานขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนและประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ทั้งด้านสภาวะสิ่งแวดล้อม ด้านสังคม วัฒนธรรม ควบคู่กันไป สามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปปฏิบัติได้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสมตามวิถีชีวิตของชุมชน ซึ่งจะนำไปสู่เป้าหมายของการควบคุมโรค คือการลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ลดภาวะแทรกซ้อนและการเสียชีวิตจากโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีความรู้และทักษะใน การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการเกิดโรคได้ 2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อเสริมพลังให้ชุมชนมีศักยภาพในการร่วมกันจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ตำบลสุคิริน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 137
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงมีความรู้และทักษะในการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ มีการลดปัจจัยเสี่ยง ที่มีผลกระทบต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานในชุมชน จนเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในทางที่ดีขึ้น สามารถลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ที่ต้องรับการรักษาต่อเนื่องได้ ๒.ชุมชนมีศักยภาพพร้อม ในการร่วมมือกันจัดการปัญหาการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)ในชุมชน สามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ตำบลสุคิริน

วันที่ 3 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ 1 การสร้างแกนนำอสม.ในการติดตาม การดูแลสุขภาพของกลุ่มเป้าหมาย 1 กิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม.ให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้นสามารถช่วยเจ้าหน้าที่คัดกรองติดตามดูแลกลุุ่มเป้าหมายเสี่ยง -ทบทวนความรู้การดูแลสุขภาพกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน -ฝึกทบทวนการใช้เครื่องวัดความดัน -ฝึกทบทวนการเจาะเลือดที่ปลายนิ้วเพื่อหาระดับน้ำตาลในเลือดการใช้เครื่องตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด -การเฝ้าระวัง การประเมินความเสี่ยงความดันโลหิตสูง/เบาหวาน การส่งต่อ -แลกเปลี่ยน การเรียนรู้ ปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานจากปีที่ผ่านมา -เสริมพลังให้ชุมชน จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดปัญหาความดัน เบาหวาน เช่นกิจกรรมการออกกำลังกายเต้นแอโรบิค การปลูกผักปลอดสารพิษ งบประมาณ 1.กิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้ อสม.ให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้นสามารถช่วยเจ้าหน้าที่คัดกรองติดตามดูแลกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อสม. จำนวน 22 คน x 25 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 1,100 บาท

กิจกรรมที่ 2 การดำเนินการติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในประชาชนกลุ่มเสี่ยง 2.1 จัดประชุมกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)/ผู้นำชุมชนฝ่ายสาธารณสุข หมู่ละ 2 คน เพื่อ -คืนข้อมูลสถานการณ์ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)ให้ชุมชนรับทราบ -ร่วมค้นหาปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)ในชุมชน พร้อมแนวทางจัดการแก้ปัญหา -ร่วมวางแผนการจัดกิจกรรม (3 อ. 2 ส.)เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน -ร่วมออกมาตรการทางสังคม เพื่อให้ชุมชนยึดถือเป็นหลักปฏิบัติในการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดปัญหาการเกิดโรคเรื้อรัง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)ในชุมชน 2.2 การดำเนินกิจกรรมติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในประชาชนกลุ่มเสี่ยง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน) เดือนละ 1 ครั้ง จำนวน 6เดือน ติดตามโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับอสม.และในกลุ่มเป้าหมายที่ไม่มาเข้าร่วมกิจกรรมให้อสม.ไปดำเนินการเชิงรุกที่บ้าน การติดตามครั้งที่ 1 (เดือนมกราคม 2563) 1.จัดทำทะเบียนและสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงเพื่อบันทึกข้อมูลผลการคัดกรองและเปรียบเทียบผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2.ให้ความรู้ตามหลัก 3 อ. 2 ส.( อาหารออกกำลังกาย อารมณ์ บุหรี่ สุรา) และให้ชุมชนร่วม เสนอกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสมตามวิถีชีวิตประจำวันให้ผู้เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรรม สุขภาพ ได้ปฏิบัติ 3.ตรวจประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิตเจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือด 4.สำรวจข้อมูลพฤติกรรมเสี่ยงเป็นรายบุคคล เพื่อประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานของคนในชุมชน 5.ดำเนินกิจกรรมการแยกกลุ่มเป้าหมายตามปิงปอง 7 สีเพื่อให้ทราบระดับความเสี่ยงและวางแผนการการจัดการดูแลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพครั้งต่อไป การติดตามครั้งที่ 2 – ครั้งที่ 5 ครั้งที่ 2 เดือนกุมภาพันธ์2563 ครั้งที่ 3 เดือนมีนาคม 2563 ครั้งที่ 4 เดือนเมษายน2563 ครั้งที่ 5 เดือนพฤษภาคม 2563 กิจกรรม ดังนี้ 1.ตรวจประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิตเจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือด 2.บันทึกข้อมูลสุขภาพ แยกกลุ่มเป้าหมายตามปิงปอง 7 สีเพื่อให้ทราบระดับความเสี่ยงและ วางแผนการการจัดการดูแลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพครั้งต่อไป 3.ให้คำปรึกษา/เสริมพลังกลุ่มเป้าหมายให้มีการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับสภาพของแต่ละบุคคลให้สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ และมีรอบเอวลดลงการลด ละเลิกในรายที่สูบบุหรี่และดื่มสุรา

การติตตามครั้งที่ 6 (เดือนมิถุนายน 2563) 1.ตรวจประเมินภาวะสุขภาพกลุ่มเป้าหมาย ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว วัดความดันโลหิตเจาะเลือดหาระดับน้ำตาลในเลือด 2.บันทึกข้อมูลสุขภาพ แยกกลุ่มเป้าหมายตามปิงปอง 7 สีเพื่อให้ทราบระดับความเสี่ยงและ วางแผนการการจัดการดูแลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพครั้งต่อไป 3.ให้คำปรึกษา/เสริมพลังกลุ่มเป้าหมายให้มีการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมกับสภาพของแต่ละบุคคลให้สามารถควบคุมระดับความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ และมีรอบเอวลดลงการลด ละเลิกในรายที่สูบบุหรี่และดื่มสุรา 4.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปและประเมินผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย งบประมาณ 1 จัดประชุมกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน)/ผู้นำชุมชนฝ่ายสาธารณสุข หมู่ละ 2 คน - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม กลุ่มเป้าหมายเสี่ยง/ผู้นำชุมชน จำนวน 100 คน x 25 บาทx 1 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท 2.การติดตามกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงเดือนละ 1ครั้งจำนวน6ครั้ง (เบิก จำนวน 4 มื้อ) -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม การติดตามกลุ่มเป้าหมายเสี่ยงจำนวน4มื้อ จำนวน 100 คน x 25 บาทx 4 มื้อเป็นเงิน 10,000 บาท

กิจกรรมที่ 3 ซื้อวัสดุและเครื่องมือ 1.ค่าจ้างเหมาทำป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน 680 บาท 2.ค่าจัดซื้อเครื่องมือการคัดกรองติดตามกลุ่มเป้าหมาย -เครื่องตรวจวัดระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 2 เครื่อง x 3,500 บาท เป็นเงิน7,000บาท 3.วัสดุไฟฟ้าและวิทยุ(ถ่านไฟฉาย)สำหรับใส่ในเครื่องวัดความดัน จำนวน 2 กล่องเป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่ 1 1.อสม.สามารถใช้เครื่องมือคัดกรองติดตามกลุ่มเสี่ยงวัดความดันโลหิตที่บ้าน/เจาะเลือดปลายนิ้วเพื่อหาระดับนำ้ตาลในเลือดได้ถูกต้อง 2.กลุ่มเป้าหมายเสี่ยงได้รับการติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ตามเกณฑ์คุณภาพ

กิจกรรมที่ 2 กลุ่มเป้าหมายเสี่ยงความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ได้รับการติดตามและประเมินผลพฤติกรรมสุขภาพ เดือนละ 1ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน

กิจกรรมที่ 3 มีวัสดุและเครื่องมือใช้ในการคัดกรองติดตามกลุ่มเป้าหมายเสี่ยง

 

137 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีความรู้และทักษะใน การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการเกิดโรคได้ 2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อเสริมพลังให้ชุมชนมีศักยภาพในการร่วมกันจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน) เข้าร่วมกิจกรรมการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ มีความรู้และทักษะการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ ร้อยละ 80 2.อัตรากลุ่มสงสัยป่วยความดันโลหิตสูงในเขตรับผิดชอบได้รับการวัดความดันโลหิตที่บ้าน ร้อยละ 10 3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด/ ระดับความดันโลหิต ปกติร้อยละ50 4.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากประชากรกลุ่มเสี่ยง ≤2.95 5.ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานรายใหม่จากประชากรกลุ่มเสี่ยง ≤1.25
3.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 137
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 137
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวานมีความรู้และทักษะใน การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม สามารถลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการเกิดโรคได้ 2. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานรายใหม่ 3. เพื่อเสริมพลังให้ชุมชนมีศักยภาพในการร่วมกันจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ตำบลสุคิริน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเยาหวาน ตำบลสุคิริน

รหัสโครงการ 63-L8281-1-05 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2563 - 31 สิงหาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงและเยาหวาน ตำบลสุคิริน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 63-L8281-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอภิรดี ศรีสุวรรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด