กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ


“ โครงการพัฒนาระบบติดตามการนัดตรวจและรับยาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2563 ”

ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาปีย๊ะ ดาโอะ

ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบติดตามการนัดตรวจและรับยาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2563

ที่อยู่ ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L2999-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 พฤษภาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบติดตามการนัดตรวจและรับยาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบติดตามการนัดตรวจและรับยาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบติดตามการนัดตรวจและรับยาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกระเสาะ อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L2999-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 พฤษภาคม 2563 - 31 สิงหาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กระเสาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังจัดเป็นปัญหาสาธารณสุข โดยพบว่ามากกว่าร้อยละ 50 ของสาเหตุการตายมาจากลุ่มโรคนี้ กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และเป็นสาเหตุการตายมาจากกลุ่มโรคนี้ กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และเป็นสาเหตุทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากมาย ซึ่งทำให้ผู้ป่วยทุพพลภาพ หรือถึงแก่ชีวิต อัมพฤกษ์ อัมพาต ตาบอด ไตวาย เท้าหรือขาพิการ เป็นต้น ประกอบกับการขาดความรู้ ความเข้าใจในการดูแลตนเองที่ถูกต้อง จะทำให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงเกิดความท้่อถอย ไม่อยากรักษา ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวเร็วขึ้น การที่ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค การปฏิบัติตัวที่ดี และรับการรักษาอย่างถูกต้องจะช่วยป้องกัน หรือชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าวได้ และทำให้ผู้ป่วยสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ยืนยาวอย่างมีความสุข ลดภาวะต่อครอบครัวและสังคมต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อพัฒนาระบบติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน 2. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยโรคความดันสุงและโรคเบาหวาน 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของ อสม./แกนนำสุขภาพครอบครัวในการติดตามผู้ป่วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.สามารถพัฒนาระบบติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน ได้ 100% 2. ประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยโรคความดันสุงและโรคเบาหวาน ได้ 100% 3. ประเมินความพึงพอใจของ อสม./แกนนำสุขภาพครอบครัวในการติดตามผู้ป่วย ได้ 100%


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. มีการจัดประชุมชี้แจงโครงการแก่เจ้าหน้าที่ ผู้เกี่ยวข้อง/คณะทำงานและแกนนำในชุมชนเพื่อชี้แจงรายละเอียดของโครงการโดยมีเจ้าหน้าที่ อสม และแกนนำสุขภาพครอบครัวเข้าร่วมรับการชี้แจงโครงการครั้งนี้และพร้อมปฏิบัติการติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ่รวมทั้งสิ้น 45 คนคิดเป็นร้อยละ 100
    2. มีการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของการมาตามนัด และภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นได้กับผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาไม่ต่อเนื่องโดยเจ้าหน้าที่ รพสต.กระเสาะที่รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในโครงการครั้งนี้ผู้ป่วยเรื้อรังเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 55 คนคิดเป็นร้อยละ 100
    3. จากการร่วมถอดบทเรียนโครงการติดตามระบบนัดที่ รพ.สต.จะเห็นได้ว่าผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ได้รับการส่งต่อให้รับยาที่รพ.สต.กระเสาะจำนวน 55 คนแบ่งเป็นผู้ป่วยเบาหวานจำรวน 7 คน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวน 48 คน ผู้ป่วยทั้งหมดเหล่านี้จะได้รับยาและนัดรับยาและนัดรับยาเดือนละ 1 ครั้งจ่ายยาฅโดยพยาบาลวิชาชีพที่รับผิดชอบงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และถ้าผู้ป่วยมีอาการเปลี่ย่นแปลงจะต้องรักษาตามแนวทางที่ได้วางไว้ โดยทีม PCT ของรพ.มายอ หรือเป็นเป็นการ Consoult กับแพทย์ทางโทรศัพท์เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่ถูกต้อง จากการถอดบทเรียนร่วมกับ อสม.และแกนนำสุขภาพของตำบลสรุปได้ดังนี้

    - ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงทั้งหมดในคลินิก NCD =48 คน มาตามนัด 25 คน คิดเป็นร้อยละ 52.08 - ผุ้ป่วยเบาหวานทั้งหมดในคลีนิก NCD = 7 คน มาตามนัด 5 คนคิดเป็นร้อยละ 71.42 สาเหตุที่ 1. ผุ้ป่วยไม่มีอาการผิดปกติ 2. ยายังเหลือ 3. เดินทางลำบาก ไม่มีญาตินำมาส่ง 4.ติดธุระ 5.ดุวันนัดผิดและลืมนัด

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อพัฒนาระบบติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน 2. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยโรคความดันสุงและโรคเบาหวาน 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของ อสม./แกนนำสุขภาพครอบครัวในการติดตามผู้ป่วย
    ตัวชี้วัด :
    0.00 55.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 45 55
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 45 55
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อพัฒนาระบบติดตามผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง และเบาหวาน 2. เพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยโรคความดันสุงและโรคเบาหวาน 3. เพื่อประเมินความพึงพอใจของ อสม./แกนนำสุขภาพครอบครัวในการติดตามผู้ป่วย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบติดตามการนัดตรวจและรับยาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2563 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 63-L2999-1-02

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาปีย๊ะ ดาโอะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด