กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ


“ โครงการติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา ปี 2563 ”

ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายสมัคร แวเด็ง

ชื่อโครงการ โครงการติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา ปี 2563

ที่อยู่ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3061-1-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 8 ตุลาคม 2563 ถึง 9 ตุลาคม 2563


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา ปี 2563 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา ปี 2563



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา ปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะเปาะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 63-L3061-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 8 ตุลาคม 2563 - 9 ตุลาคม 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะเปาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การติดตามและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในประชาชนที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษาจึงเป็นแนวทางหนึ่งที่มีความสำคัญเพื่อลดอุบัติการณ์และความรุนแรงของโรค ในปี 2560 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะเปาะ มีผู้ป่วยขาดการรักษา จำนวน 114 ราย คิดเป็นร้อยละ 51.8 ปี 2561 จำนวน 130 ราย คิดเป็นร้อยละ 57.7 และปี 2562 จำนวน 111 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.4 ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะเปาะได้ตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการติดตามและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนกลุ่มป่วยมีสุขภาพที่ดีมีความรู้ในการดูแลตนเอง ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนและการสูญเสียของประชาชนกลุ่มป่วยต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการรักษาที่เหมาะสม
  2. 2.เพื่อให้กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษาได้รับการรักษาที่เหมาะสม
  3. 3.เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นในกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงการดูแล/ติดตามกลุ่มป่วยที่ขาดการรักษาแก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามการรักษา
  2. กิจกรรมติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถนำไปปฏิบัติได้อย่างถูกต้องในเรื่อง อาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย
2.กลุ่มเป้าหมายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 80
3.กลุ่มเป้าหมายไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงการดูแล/ติดตามกลุ่มป่วยที่ขาดการรักษาแก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามการรักษา

วันที่ 22 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมชี้แจงการดูแล/ติดตามกลุ่มป่วยที่ขาดการรักษาแก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามการรักษา 1.ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน
2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในประชากรกลุ่มป่วยทีี่ขาดการรักษา เช่น ผู้นำท้องถิ่น อสม.และภาคีเครือข่าย
3.คัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยที่ขาดการรักษา
4.ประชุมชี้แจงเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยที่ขาดการรักษาตามหลัก 3 ส 2 อ
5.ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกเดือนเป็นเวลา 3 เดือนโดยอาสาสมัครสาธารณสุข
6.ประเมินผล สรุป หลังเข้าร่วมโครงการ 6 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษาทุกคนได้เข้าสู่ระบบการรักษาที่มีคุณภาพและผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการส่งต่อพบแพทย์
2.กลุ่มเป้าหมายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 80

 

45 0

2. กิจกรรมติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา

วันที่ 23 กันยายน 2563

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน
2.ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในประชากรกลุ่มป่วยทีี่ขาดการรักษา เช่น ผู้นำท้องถิ่น อสม.และภาคีเครือข่าย
3.คัดกรองภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยที่ขาดการรักษา
4.ประชุมชี้แจงเรื่องการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยที่ขาดการรักษาตามหลัก 3 ส 2 อ
5.ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทุกเดือนเป็นเวลา 3 เดือนโดยอาสาสมัครสาธารณสุข
6.ประเมินผล สรุป หลังเข้าร่วมโครงการ 6 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษาทุกคนได้เข้าสู่ระบบการรักษาที่มีคุณภาพและผู้ป่วยที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการส่งต่อพบแพทย์
2.กลุ่มเป้าหมายสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและความดันโลหิตสูงได้ร้อยละ 80

 

95 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการรักษาที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของกลุ่มป่วยได้รับการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
50.00 20.00

 

2 2.เพื่อให้กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษาได้รับการรักษาที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : 2.กลุ่มป่วยได้รับการติดตามระดับน้ำตาลในเลือด/ระดับความดันโลหิต หลังจากการพัฒนาพฤติกรรรม
50.00 20.00

 

3 3.เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นในกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้
ตัวชี้วัด : 3.กลุ่มป่วยได้รับการติดตามการรักษาและได้พบแพทย์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน ร้อยละ 100
50.00 20.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้รับการรักษาที่เหมาะสม (2) 2.เพื่อให้กลุ่มป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษาได้รับการรักษาที่เหมาะสม (3) 3.เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดขึ้นในกลุ่มป่วยที่ไม่สามารถควบคุมโรคได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงการดูแล/ติดตามกลุ่มป่วยที่ขาดการรักษาแก่อาสาสมัครสาธารณสุขในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามการรักษา (2) กิจกรรมติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในกลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา ปี 2563

รหัสโครงการ 63-L3061-1-02 ระยะเวลาโครงการ 8 ตุลาคม 2563 - 9 ตุลาคม 2563

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

เกิดการเรียนรู้ถึงขั้นตอนในการติดตามผู้ป่วยและได้ใช้เครื่อข่ายชุมชนในการติดตามผู้ป่่วย

จากที่ผู้ป่วยได้มาตามนัดและเครื่อข่ายมีส่วนร่วม

พัฒนาเครือข่ายในชุมชนให้มีความสามารถในการติดตามผู้ป่วย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

เกิดเครือข่ายชุมชน

จากการมารับบริการของผู้ป่วย

พัฒนาระบบบริการในคลินิคเบาหวานความดันโลหิตสูง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

เกิดกระบวนการติดตามผุ้ป่วยโดยเครือข่ายมีส่วนร่วม

จากการมีส่วนร่วมของเครือข่าย

พัฒนาศักยภาพของเครือข่ายในการติดตามผู้ป่วย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ทำงานโดยเครือข่ายชุมชนมีส่วนร่วม

จากการทำงานร่วมกัน

มีการทำงานระหว่างชุมชนกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

ผู้ป่วยเข้าใจและรู้จักบริโภคมากขึ้น

จากการสอบถาม

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

ผู้ป่วยบางส่วนเริ่มมีการออกกำลังกาย

จากการสังเกต

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

เครือข่ายชุมชนสามารถติดตามผู้ป่วยที่ขาดการรักษาได้

จากการรับบริการของผู้ป่วย

พัฒนาระบบติดตามโดยให้เครือข่ายเพิ่มมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

สามารถนำข้อมูลปัญหาในชุมชนมาแก้ปัญหาได้ตรงจุด

ผู้ป่วยมารับบริการเพิ่มมากขึ้น

ผู้ป่วยขาดการรักาาน้อยลง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

ใช้เครือข่ายในชุมชนในการติดตามผู้ป่วยขาดการรักษา

เกิดเครือข่ายติดตามผู้ป่วยในชุมชน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

จากการทำโครงการทำให้เกิดทักษะในการแก้ไขปัญหามากขึ้นและสามารถแก้ปัญหาไปวางแผนการทำโครงการต่อไป

จากการทำโครงการ

ต่อยอดโครงการเดิมเพิ่มที่จากการติดตามให้มากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

รู้สึกภูมิใจที่สามารถติดตามผู้ป่วยที่ขาดการรักษาให้มารับบริการเพิ่มมากขึ้น

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการติดตามและคัดกรองภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขาดการรักษา ปี 2563 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3061-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมัคร แวเด็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด