กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ”
ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสิริอร ทับนิล




ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3002-02-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2563 ถึง 31 สิงหาคม 2563

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฎิบัติตัวของประชาชนในขณะป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง (2) 2.เพื่อสร้างความตระหนักในการรับรู้ภาวะของโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดทำฐานข้อมูลเพื่อรองรับการดำเนินงาน (2) 2.การศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) 3.การพัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากผลการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปในปี 2562 ของตำบลตรัง จำนวน838 คนคิดเป็นร้อยละ81.9พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน369คนคิดเป็นร้อยละ36.5และกลุ่มสงสัยต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงจำนวน136คนคิดเป็นร้อยละ 13.5 จากผลการคัดกรองโรคเบาหวานในกลุ่มประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไปในปี 2562 ของตำบลตรังจำนวน 1030 คนคิดเป็นร้อยละ95.9พบมีประชาชนที่คัดกรองจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงจำนวน 103 คนคิดเป็นร้อยละ10.7 และกลุ่มสงสัยต่อการเกิดโรคเบาหวานจำนวน16 คนคิดเป็นร้อยละ 1.5 ซึ่งสาเหตุของปัญหา มีดังนี้ 1.การรับประทานอาหารทีมีรสหวาน มัน เค็ม 2.ขาดความตระหนักในการปรับเปลียนพฤติกรรม ที่ถูกต้อง จากสถานการณ์ปัญหาดังกล่าว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตรังได้ตระหนักถึงความสำคัญของภาวะสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการติดตามและเฝ้าระวังประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงตำบลตรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฎิบัติตัวของประชาชนในขณะป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง
  2. 2.เพื่อสร้างความตระหนักในการรับรู้ภาวะของโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดทำฐานข้อมูลเพื่อรองรับการดำเนินงาน
  2. 2.การศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  3. 3.การพัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ
  4. การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 505
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.มีการศึกษาและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง
2.ระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวานสามารควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
3.ระดับความดันโลหิตของกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
4.มีคลินิกบริการโรคความดันเบาหวาน อย่างมีคุณภาพ 5.มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างยังยืน และสอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชนตำบลตรัง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 3.การพัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ

วันที่ 6 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เปิดบริการคลีนิคโรคเรื้อรัง ทุกวันจันทร์ โดยมี แพทย์จาก รพ.มายอ ตรวจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มส่งสัยป่วย 103 คน ได้รับการตรวจจากแพทย์
กลุ่มป่วย 11 คน ได้รับการวินิจฉัยโรคและเข้ารับการรักษา ทันที

 

11 0

2. 2.การศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

วันที่ 7 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

เจ้าหน้าที่ พยายาลประจำแผนกโรคเรื้อรัง รพ.มายอ ร่วมประชุมวิเคราะห์และนำข้อมูการสำรวจจาก อสม มาประมวล เพื่อจัดผู้ป่วยเป็น กลุ่มต่างๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเสี่ยงจำนวน 108 คน กลุ่มส่งสัยป่วยจำนวน  103 คน ส่งพบแพทย์และได้รับวินิจฉัยจำนวน 11 คน

 

222 0

3. 1.จัดทำฐานข้อมูลเพื่อรองรับการดำเนินงาน

วันที่ 31 สิงหาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

อสม.ตำบลตรัง ลงพื้นที่ 1.ประเมินพฤติกรรมการบริโภคอาหาร 2.วัดความดันโลหิต 3.ตรวจน้ำตาลในเลือด 4.วัดรอบเอว 5.ชั่งน้ำหนัก 6.ประเมินภาวะซึมเศร้า 7.คัดกรองการสูบบุหรี่ 8.คัดกรองการดื่มแอลกอฮอล์ เป็น วลา 10 วัน ตั้งแต่วันที่ 21 สิงหาคม 2563 ถึง ที 31 สิงหาคม 2563

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

อสม จำนวน 20 คน ได้ลงพื้นที่ คัดกรอง และประเมินติดตาม จำนวน 10 วัน

 

20 0

4. การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 1 กันยายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

อสม จำนวน 25 คน ออกเชิงรุกคัดกรอง ซ้ำในรายที่ได้รับการ วินิจฉัยว่า เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน โดยทำการวัดความดัน และเจาะเบาหวานปลายนิ้ว เป็นเวลา 10 วัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รับรู้ สถานะสุขภาพของตนเอง 2.กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มสงสัยป่วย ได้รับการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฎิบัติตัวของประชาชนในขณะป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 20 ของกลุ่มเป้าหมาย สามารถควบคุมค่าน้ำตาลในเลือด และค่าความดันโลหิต อยู่ในเกณฑ์ ปกติ 3 ครั้งติดต่อกัน
101.00 80.00

ร้อยละ 80 สามารคควบคุมค่าน้ำตาลและค่าความดันโลหิตอยู่ในเกณฑืปกติได้

2 2.เพื่อสร้างความตระหนักในการรับรู้ภาวะของโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.มีการบันทึกผลค่าน้ำตาลในเลือด และค่าความดันโลหิต 10 ครั้ง ภานใน 5 เดือน
369.00 369.00

จำนวน 369 คน ได้รับการตรวจความดันโลหิต ทุกเดือน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 505 505
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 505 505
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปฎิบัติตัวของประชาชนในขณะป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรั้ง (2) 2.เพื่อสร้างความตระหนักในการรับรู้ภาวะของโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดทำฐานข้อมูลเพื่อรองรับการดำเนินงาน (2) 2.การศึกษาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (3) 3.การพัฒนาคุณภาพคลินิกบริการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 63-L3002-02-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสิริอร ทับนิล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด