โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563 ”
ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางวิภาวรรณ ศรีสังข์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต
กันยายน 2563
ชื่อโครงการ โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563
ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L4282-1-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L4282-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชนอกจากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแล้วยังก่อให้เกิดปัญหาการได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายของเกษตรกรผู้ใช้ และยังมีสารพิษตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรอีกด้วย การใช้สารเคมีทางการเกษตรนานๆ จนทำให้พืชผักมีพิษตกค้างจำนวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพของผู้บริโภค สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น
ตำบลโฆษิต เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมดซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ ทำไร่ ทำนา ทำสวน ปลูกพืชผัก ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงอยู่ จากผลการดำเนินงาน ของปี 2562 พบว่า มีเกษตรกรที่ได้รับการเจาะเลือด จำนวน 100 คน พบมีความเสี่ยง จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 8 พบไม่ปลอดภัย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 4 ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ และเพื่อเป็นการสนับสนุนงานบริการเชิงรุกด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563
ในพื้นที่ ม.1 บ้านสะหริ่งและ ม. 5 บ้านปลักปลา ตำบลโฆษิต ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพหาปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด เพื่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที รวมถึงการติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่ตรวจพบสารเคมี และให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการเฝ้าระวังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
- เพื่อให้มีการจัดบริการสุขภาพ เฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก
- เพื่อให้เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชมีความรู้ และความตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมให้ความรู้ และเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือดในกลุ่มเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี
- เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
- ลดการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. ประชุมให้ความรู้ และเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือดในกลุ่มเสี่ยง
วันที่ 30 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำ
อบรมให้ความรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมี
0
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
ตัวชี้วัด : เกษตรกรที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
100.00
2
เพื่อให้มีการจัดบริการสุขภาพ เฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก
ตัวชี้วัด : มีการจัดบริการสุขภาพ เฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในพื้นที่
0.00
3
เพื่อให้เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชมีความรู้ และความตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชมีความรู้ และความตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด (2) เพื่อให้มีการจัดบริการสุขภาพ เฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก (3) เพื่อให้เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชมีความรู้ และความตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมให้ความรู้ และเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือดในกลุ่มเสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L4282-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางวิภาวรรณ ศรีสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563 ”
ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางวิภาวรรณ ศรีสังข์
กันยายน 2563
ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L4282-1-10 เลขที่ข้อตกลง 10/2563
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 63-L4282-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2563 - 30 กันยายน 2563 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชนอกจากจะส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแล้วยังก่อให้เกิดปัญหาการได้รับสารพิษเข้าสู่ร่างกายของเกษตรกรผู้ใช้ และยังมีสารพิษตกค้างในผลผลิตทางการเกษตรอีกด้วย การใช้สารเคมีทางการเกษตรนานๆ จนทำให้พืชผักมีพิษตกค้างจำนวนมาก ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพของผู้บริโภค สามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะภายในร่างกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมอง ผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับว่า เราจะรับสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้จนถึงขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆ ขึ้นมา เช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดและระบบภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ตำบลโฆษิต เป็นตำบลหนึ่งที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมดซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ ทำไร่ ทำนา ทำสวน ปลูกพืชผัก ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงอยู่ จากผลการดำเนินงาน ของปี 2562 พบว่า มีเกษตรกรที่ได้รับการเจาะเลือด จำนวน 100 คน พบมีความเสี่ยง จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 8 พบไม่ปลอดภัย จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 4 ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกยาง ได้เล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ และเพื่อเป็นการสนับสนุนงานบริการเชิงรุกด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในพื้นที่ จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563 ในพื้นที่ ม.1 บ้านสะหริ่งและ ม. 5 บ้านปลักปลา ตำบลโฆษิต ขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจสุขภาพหาปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือด เพื่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหาได้อย่างทันท่วงที รวมถึงการติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงที่ตรวจพบสารเคมี และให้ความรู้เรื่องการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการเฝ้าระวังต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
- เพื่อให้มีการจัดบริการสุขภาพ เฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก
- เพื่อให้เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชมีความรู้ และความตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมให้ความรู้ และเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือดในกลุ่มเสี่ยง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการใช้สารเคมี
- เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด
- ลดการเกิดโรคและภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. ประชุมให้ความรู้ และเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือดในกลุ่มเสี่ยง |
||
วันที่ 30 กรกฎาคม 2564กิจกรรมที่ทำอบรมให้ความรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นได้รับความรู้เกี่ยวกับการใช้สารเคมี
|
0 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด ตัวชี้วัด : เกษตรกรที่มีความเสี่ยงได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อให้มีการจัดบริการสุขภาพ เฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก ตัวชี้วัด : มีการจัดบริการสุขภาพ เฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุกในพื้นที่ |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชมีความรู้ และความตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ตัวชี้วัด : เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชมีความรู้ และความตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรได้รับการคัดกรองหาสารเคมีในเลือด (2) เพื่อให้มีการจัดบริการสุขภาพ เฝ้าระวังและคัดกรองความเสี่ยงเชิงรุก (3) เพื่อให้เกษตรกรและผู้ใช้สารเคมีศัตรูพืชมีความรู้ และความตระหนักในการหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมให้ความรู้ และเจาะเลือดหาสารเคมีในเลือดในกลุ่มเสี่ยง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการตรวจคัดกรองสารเคมีตกค้างในเกษตรกร ประจำปี 2563 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 63-L4282-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางวิภาวรรณ ศรีสังข์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......